Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 บริบททางการเมืองของประเทศมาเลเซีย - Coggle Diagram
บทที่ 5 บริบททางการเมืองของประเทศมาเลเซีย
ตนกู อับดุล ราห์มาน
นายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศ ยกย่องเป็นบิดาของประเทศ
วันที่ได้รับเอกราชจากอังกฤษ 31 ส.ค. ค.ศ.1957
ประชาธิปไตย แบบรัฐสภา มีสมเด็จพระราชาธิบดีเป็นประมุข (ยังดี เปอร์ตวน อากง)ซึ่งเลือกมาจากสุลต่าน 9 รัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าฝ่าย บริหาร
เมืองหลวง กรุงกัวลาลัมเปอร์
ศูนย์กลางราชการ เมืองปุตราจายา ตั้งอยู่รัฐ สลังงอร์
เคยถูก โปตุเกส(ยึดมะละกา) ฮอลันดา(เข้าเกดะห์ ตั้งศูนย์การค้า ที่บาตู ซาวาร์) และอังกฤษ (เช่าเกาะปีนัง และมณฑลเลสลีย์ จากสุลต่าน ไทบุรี)ยึดครองตามลำดับ
อังกฤษในคาบแหลมมาลายู นางตั้งกลุ่มสเตรทส์ เซ็ตเติลเม้นท์ (รวมสิงคโปร์ ปีนัง มะละกา) สิงคโปร์ได้รับการพัฒนาเป็นเมืองท่า ศูนย์การค้าปลอดภาษี
รัฐบาลอังกฤษ ลงนาม สนธิสัญญาปังกอร์กับผู้นำรัฐเประ และขยายการปกครองรัฐต่างๆ ใต้และกลางคายสมุทรมลายู เบอร์เนียวเนือและบรูไน
ค.ศ. อังกฤษ จัดตั้ง สหพันธรัฐ มลายู FMS แก้ปัญหาบริหารรัฐต่างๆ
สมาคมฮีกิน(จีนกวางตุ้ง) และสมาคมไฮซาน (จีนแคะ) แบ่งเขตอิทธิพลคุ้มครองการค้า ธุรกิจ จนนำไปสู่ความวุ่นวาย อังกฤษจึงแทรกแซง ให้จดทะเบียนสมาคม ออกกฎหมายว่าสิ่งเห่านี้เป็นความผิด
นโยบายการต่างประเทศ
ก่อนได้รับเอกราชจากอังกฤษ (ค.ศ. 1947-1957) นโยบายภายใต้รัฐบาลอังกฤษ ต่อต้านคอมมิวนิสต์
ข้อตกลงด้านความมั่นคงระหว่างออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สหพันธ์ มลายู
หลังได้รับเอกราชจากอังกฤษ(ค.ศ. 1957-ทศวรรษ1960) เน้นต่อต้านคอมมิวนิสต์และใกล้ชิดตะวันตก
เข้าเครือจักรภพอังกฤษ
ลงนาม AMDA (สนธิสัญญาความมั่นคงกับอังกฤษ)
MAPHILINDO องค์กรมาฟิลินโด
ASA สมาคมอาสา
เข้าร่วมอาเซียนเพราะ จะเป็นเครือมือปรับความสัมพันธ์และความขัดแย้งกับเพื่อนบ้าน
เสนอหลักการกวนตัน ห้าบวกสอง ร่วมเผชิญหน้าปัญหาสงครามเวียดนาม รุกรานกัมพูชาจนบรรลุข้อตกลงสันติภาพ
ในทศตวรรษที่ 1970 ทหารอเมริกา ถอนฐานทัพจากสงครามเวียดนาม ทำให้อาเซียนเสริมสร้างดุลอำนาจแห่งภูมิภาค แก้ปัญหาวิกฤตกัมพูชาผ่านกรอบอาเซียน
บริบททางการเมือง มาเล 1970
พอตนนกู อับดุล ราซัคตาย นายฮุนเซน ออนก็เลื่อนมาเป็นนายกแทน
นายฮุนเซน ออน
ตน อับดุล ราซัล บิน ฮุนเซน
ในทศวรรษ 1970 ประกาศนโยบายเศรษฐกิจใหม่ NEP
ปฎิรูป ด้านการเมือง เศรษฐกิจ เสรีภาพทางการเมือง ความเลื่อมล้ำ ขจัดความแตกแยกทางเชื้อชาติ ผลักดันให้อาเซียน ลงนามให้อาเซียนเป็นเขตเสรีภาพ สันติภาพ และเป็นกลาง
เป็นคนลงนาม ปฎิญากรุงเทพ
การเพิ่มบทบาทมาเลเซียในเวทีโลก
นโยบายซื้อสินค้าอังกฤษเป็นลำดับสุดท้าย
Buy British Last Policy
Look East Policy มองตะวันออก มหาเธร์ เสนอแนวคิด รวมกลุ่มเสรษฐกิจเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (EAEG)อาเซียน และ จีน ญี่ปุ่น เกาหลี
สร้างสัมพันธ์กับโลกมุสลิม ประชาคมโลกมุสลิม OIC แนวคิดอุมมะฮ์ สร้างความสัมพันธ์ในหมู่ชาวมุสลิม
ขยายความสัมพันธ์กับกลุ่มเอเชียกลาง เป็นประเทศมุสลิมและมากด้วยทรัพยากร
มาเลเซีย และความร่วมมือกรอบใต้-ใต้ กรอบความร่วมมือประเทศำลังพัฒนา มุสลิม เช่น สร้างกลุ่ม D-8 บังกลาเทศ อียิปต์ ไนจีเรีย อินโดนีเซีย อิหร่าน มาเล ปากี ตุรกี
สนับสนุนสหประชาชาติ เพราะเห็นเป็นเครื่องมือพหุพาคีช่วยเหลือประเทสขนาดเล็กได้
มหาเธร์ โมฮัมหมัด
ให้ความสำคัญกับผู้นับถืออิสลาม เน้นมองตะวันออก
ลดบทบาทสถาบันประมุขรัฐ และศาล
ต่อต้านตะวันตก เป็นมิตรเอเชียตะวันออก เพิ่มบทบาทประเทศโลกที่สาม เสริมความร่วมมือโลกมุสลิม ทำให้มาเลมีบทบาทบนเวทีโลกมากขึ้น
ช่วงแรกของการเป็นนายก ทศวรรษ 1980 สะอาดโปร่งใส มีประสิทธิภาพ เชื่อถือได้ ให้ความสำคัญกับศาสาอิสลาม พัฒนาเศรษฐกิจให้เหมือนญี่ปุ่นและเกาหลีใต้
เชิดชูชาวมลายู ทัดเทียมกับชาติอื่น
ลดอำนาจประมุขรัฐ จนไปสู่ความขัดแย้ง ของคนสนับสนุนกษัตริย์
ลดอำนาจศาล แทรกแซงศาล
นโยบายการเกษตรแห่งชาติ ปฎิรูปภาคเกษตร คนจนลดลง
มหาเธ ยุค1990
รักษาอำนาจตัวเอง ควบคุมสื่อ ปราบฝ่ายตรงข้าม
จับอันวาร์ อิบราฮิมรองนายก และรมต.การคลัง แบบไม่ผ่านกระบวนการไต่สวนศาล
จากเหตุการนี้ พรรคต่างๆรวมตัวกัน ตั้งพรรคบีเอ เพื่อต่อต้านมหาเธร์ แต่ว่าพรรคนี้ยังแพ้มหาเธร์อยู่ดี
ประกาศแผนพัฒนาแห่งชาติ กำจัดสาเหตุความยากจน ให้เอกชนเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
จัดการประชุมไม่เป็นทางการ ที่กรุงจาการ์ตา เรียกร้องให้หยุดยิง ในวิกฤตกัมพูชา
การปรับนโยบายในทวิภาคีคือ การรักษาสัมพันธ์ทางความมั่นคงกับสหรัฐ และมีปฎิสัมพันธ์กับจีนมากขึ้น
มีนโยบายภูมิบุตร ซึ่่งชาวจีนในมาเลเสียผลประโยชน์