Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีความสูงอายุ - Coggle Diagram
ทฤษฎีความสูงอายุ
แนวคิดพัฒนกิจชีวิตของอิริคสัน
พัฒนกิจที่สำคัญในวัยผู้สูงอายุ
การปรับตัวต่อความเจ็บป่วย
การสูญเสียและการเปลี่ยนแปลง
ทฤษฎีของเพค(Peck Concept)
ให้ผู้สูงอายุควรสร้างความรู้สึกพึงพอใจในตนเอง
ขยายแนวคิดของ อิริคสัน
ทฤษฎีทางชีวภาพ(Biological Theories)
เป็นทฤษฎีอธิบายความชราทางชีววิทยาซึ่งเกี่ยวกับกระบวนการเลี่ยนแปลงทางกายภาพที่เกิดขึ้นในร่างกายสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
ทฤษฎีอนุมูลอิสระ(Free radical Theory)
เกิดจากการเผาผลาญไขมัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ร่วมกับ การได้รับการกระตุ้นจากความร้อน แสง และรังสี ก่อให้เกิดสารที่เรียกว่า อนุมูลอิสระ
แนวคิดใหม่ที่สอดคล้องกับทฤษฎีอนุมูลอิสระคือ ทฤษฎีจำกัดพลังงาน
ซึ่งเชื่อว่าการจำกัดพลังงานในอาหารที่รับประทานจะช่วยชะลอกระบวนการเผาผลาญในร่างกายโดยเฉพาะไขมัน
ทฤษฎีความเสื่อมโทรม(Wear and tear theory)
ทฤษฎีนี้ได้เปรียบเทียบคนคล้ายกับเครื่องจักร เมื่อใช้งานหนักๆจึงเกิดการตายของเซลล์
ทฤษฎีสะสม(Accumulation Theory)
ทฤษฎีนี้เิกิดจากสารไลโปฟิสซินเป็นสารสีเหลืองที่ประกอบด้วยไขมันและโปรตีน
ทฤษฎีการเชื่อมตามขวาง(Cross-linking Theory)
ทฤษฎีเชื่อว่าความสูงอายุว่าเมื่อมีอายุมากขึ้นโปรตีนบางตัวะเปลี่ยนแปลงลักษณะไขว้ขวางกัน
ทฤษฎีพันธุกรรม(Genetic theory)
เชื่อว่าความสูงอายุถูกควบคุมด้วยพันธุกรรม
ทฤษฎีระบบประสาท
ความสูงอายุเป็นผลร่วมกันของการเปลี่ยนแปลงระบบประสาท
ทฤษฎีความสูงอายุเชิงเชิงจิตสังคม(Phychosocial theory)
การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมและสังคมของผู้สูงอายุมักจะมีผลกระทบพร้อมๆกัน
ทฤษฎีการถดถอย
เมื่อถึงวัยผู้สูงอายุจะสามารถยอมรับในบทบาทและหน้าที่ของตนเองลดลง
ทฤษฎีการมีกิจกรรม(Activity Theory)
ทฤษฎีนี้ส่งเสริมการทำกิจกรรมต่อไป ไม่ยอมรับการเป็นผู้สูงอายุเร็วเกินไป
ทฤษฎีความต่อเนื่อง(continuity theory)
อธิบายว่าผู้สูงอายุจะมีความสุขในกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ผู้สูงอายุไม่ขัดแย้งต่อความรู้สึกภายในผู้สูงอายุ