Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการการเสริมสร้างสุขภาวะชุมชนบนฐานการพึ่งตนเอง - Coggle Diagram
กระบวนการการเสริมสร้างสุขภาวะชุมชนบนฐานการพึ่งตนเอง
ขั้นตอนที่ 1 การสะท้อนปัญหาสุขภาวะและการจุดประกายการพัฒนาสุขภาวะ
ขั้นตอนที่ 2 การตั้งคณะทำงานดำเนินงานด้านสุขภาวะชุมชนในระดับชุมชน
ขั้นตอนที่ 3 การสร้างความร่วมมือภายชุมชน
ขั้นตอนที่ 4 การกำหนดนโยบายทางสุขภาวะชุมชนและจัดทำแผนการดำเนินงาน
ขั้นตอนที่ 5 การดำเนินงานและการสะท้อนผล และการประเมินทางด้านสุขภาวะชุมชน
5.1 การดำเนินการพัฒนาสุขภาวะชุมชนตามแผนงานที่กำหนดไว้
5.2 การสะท้อนผลและประเมินผลของการพัฒนาสุขภาวะชุมชน
5.3 ปรับปรุงแผนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาวะชุมชน
4.1 กำหนดปัญหาที่ต้องการแก้ไขทางสุขภาวะอย่างชัดเจน
4.2 กำหนดผลลัพธ์ที่ต้องการและประเมินความคุ้มค่าในการดำเนินการทางสุขภาวะชุมชน
ระบุผลลัพธ์ที่ต้องการ
-ส่งที่จะได้รับ
-ระบุผู้ที่รับประโยชน์
-ผู้ได้ผลกระทบทางลบ(ถ้ามี)
ประเมินความคุ้มค่า
-งบประมาณ
-ระยะเวลา
-ทรัพยากรที่ใช้
-ผลกระทบมิติอื่นๆ เช่น ผลกระทบทางสังคม
4.3 การกำหนดนโยบายทางสุขภาวะ โดยเน้นประเด็นสำคัญดังต่อไปนี้
การมีส่วนร่วมของชุมชน
-ร่วมสะท้อนปัญหา
-ร่วมรับรู้
-ร่วมวางแผน
-ร่วมตัดสินใจ
-ร่วมการดำเนินงาน
-ร่วมประเมินผล
คำนึงถึงความต้องการของสมาชิกชุมชนเป็นสำคัญ
นำทุนทางสังคมมาใช้ประโยชน์
-บุคลากร
-ความรู้ภูมิปัญญา
-พื้นที่
-จำนวนประชากร
-ทรัพยากรธรรมชาติ
-วัฒนธรรม
คำนึงถึงผลประโยชน์ของชุมชนในหลายมิติ
-มิติทางสังคม
-มิติทางเศรษฐกิจ
สร้างสมดุลในการต่อรองกับเครือข่ายภายนอก (ถ้ามี) และรับผลประโยชน์ร่วมกัน
-สร้างความเชื่อมั่นกับเครือข่ายภายนอก
-ระบุสิ่งที่ชุมชนต้องการ
-ระบุสิ่งที่เครือข่ายน่าจะได้รับ
4.4 จัดลำดับความสำคัญของปัญหาสุขภาวะชุมชนว่าควรทำอะไรก่อนหรือหลัง
4.5 การสำรวจทรัพยากรและทุนทางสังคม
4.6 กำหนดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการพัฒนาสุขภาวะชุมชน และวิธีการที่ได้
4.7 กำหนดขั้นตอน วิธีการ และกรอบระยะเวลาในการดำเนินการ
4.8 กำหนดวิธีการประเมินผล
4.9 สร้างแผนงานเป็นลายลักษณ์อักษร และนำเสนอได้
4.10 แผนการที่มีความยืดหยุ่นที่สามารถปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณ์และความจำเป็น
3.1 - การสร้างความเชื่อมั่นของสมาชิกในชุมชนต่อกลุ่มผู้นำ
3.2 การเข้าถึงสมาชิกในชุมชน
3.3 การประชาสัมพันธ์และการสื่อสาร
การสื่อสารโดยตรง
-การพูดคุย
-ประชุม
การสื่อสารผ่านสื่อ
-ส่งพิมพ์
-เอกสาร
-เสียงตามสาย
การสื่อดิจิตอล
-โปรแกรมการสื่อสาร Line และFacebook
-อีเมล
2.1 ผู้นำชุมชนสร้างแกนนำ
การคัดเลือกแกนนำ โดยพิจารณา
-ความรู้ ความชำนาญ
-บุคลิกภาพ
-ความรับผิดชอบ
-ความซื่อสัตย์
-ความมีจิตอาสา
จัดแบ่งชุมชนออกเป็นโซนหรือจำแนกออกเป็นกลุ่ม
2.2 การกระจายหน้าที่ความรับผิดชอบสู่แกนนำคนอื่นๆ
1.1 การเกิดขึ้นของปัญหาสุขภาวะชุมชน
ปัญหาภายในองค์กรชุมชน
ปัญหาสุขภาวะชุมชน
1.2 การตระหนักถึงปัญหา
ปัญหาที่ทุกคนในชุมชนตระหนักว่าเป็นปัญหา
ปัญหาที่ถูกสร้างให้เกิดความตระหนัก
1.3 การจุดประกายในการแก้ไขปัญหาสุขภาวะ
1.4 ค้นหาทางออกในการแก้ไขปัญหา