Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีความสูงอายุ - Coggle Diagram
ทฤษฎีความสูงอายุ
ทฤษฎีทางชีวภาพ(Biological Theories)
ทฤษฎีอนุมูลอิสระ
ความสูงอายุเกิดจากการสะสมที่เกิดจากการเผาผลาญ
ไขมัน
คาร์โบไฮเดรต
โปรตีน
เกิดจากการได้รับการกระตุ้นจาก
ความร้อน
แสง
รังสี
แนวคิดใหม่ที่สอดคล้อง
ทฤษฎีจำกัดพลังงาน
เชื่อว่าการจำกัดพลังงานในอาหารที่รับประทานจะช่วยชะลอกระบวนการเผาผลาญในร่างกายให้ช้าลงโดยเฉพาะไขมัน
ทฤษฎีสะสม
เกิดจากสารไลโปฟัสซิน(Lipofuscin)
เป็นสารสีเหลือง
ประกอบด้วย
โปรตีน
ไขมัน
พบใน
เซลล์ของกล้ามเนื้อหัวใจ
ตับ
เส้นประสาท
เชื่อว่าสารไลโปฟัสซินมีผลเสียต่อร่างกายจะมีผลต่อการกระจายและการขนส่งสารที่จำเป็นในร่างกาย
ทฤษฎีการเชื่อมตามขวางหรือทฤษฎีคอลลาเจน
เชื่อว่าเมื่อมีอายุมากขึ้นโปรตีนบางตัวจะเปลี่ยนแปลงลักษณะไขว้ขวางกันและอาจจะขัดขวางกระบวนการเผาผลาญในร่างกาย
สารไขว้ขวางได้แก่
อิลาสติน
คอลลาเจน
สารที่อยู่ภายในเซลล์
สารที่อยุ่นอกเซลล์
พบมากใน
กระดูก
กล้ามเนื้อ
ผิวหนัง
คอลลาเจนมีการเปลี่ยนแปลง
เช่น
มีลักษณะแข็ง
แตกแห้ง
สูญเสียความยืดหยุ่น
ผลทำให้เกิดความเสื่อมของอวัยวะ
ผนังหลอดเลือด
เลนซ์ในลูกตา
ผิวหนัง
เกิดเป็นต้อกระจก
ทฤษฎีความเสื่อมโทรม
เปรียบเทียบคนคล้ายกับเครื่องจักร คือเมื่อใช้งานมากๆใช้งานอวัยวะเป็นเวลานานเมื่ออายุมากๆจึงเกิดการตายของเซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะต่างๆ
ทฤษฎีพันธุกรรม
ครอบครัวใดที่พ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย อายุยืน ลูกย่อมมีอายุยืนด้วย
เชื่อว่าความสูงอายุถูกควบคุมด้วยพันธุกรรม
ทฤษฎีระบบประสาท/ต่อมไร้ท่อและภูมิคุ้มกัน
เชื่อว่าความสูงอายุเป็นผลร่วมกันของการเปลี่ยนแปลงระบบประสาท
ระบบภูมิคุ้มกันลดลงเมื่ออายุมาก มีผลทำให้มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม(Phychosocial theory)
ทฤษฎีการถดถอย
เมื่อถึงวัยสุงอายุจะสามารถยอมรับในบทบาทและหน้าที่ของตนเองลดลง
ทฤษฎีการมีกิจกรรม
ส่งเสริมให้ออกกำลังกายต่อไป ไม่ยอมรับการเป็นผู้สูงอายุเร็วเกินไป
ทฤษฎีความต่อเนื่อง
ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีการตัดสินใจที่จะเลือก เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจและไม่ขัดแย้งต่อความรู้สึก
เชื่อว่าบุคลิกภาพและพฤติกรรมไม่เปลี่ยนแปลงไปตามอาย คนเราพยายามรักษาทุกอย่างให้เหมือนเดิมเพื่อรักษาความมั่นคงในชีวิต
แนวคิดพัฒนกิจชีวิตของอิริคสัน
พัฒนกิจที่สำคัญในวันผูุ้อายุ
การสูญเสีย
การปรับตัวต่อความเจ็บป่วย
การเปลี่ยนแปลง
การชื่นชมกับชีวิตในอดีต
การเตรียมตัวเข้าสู่วาระสุดท้ายของชีวิต
ทฤษฎีของเพค
ขยายจากแนวคิดของอิริคสัน
การสร้างความรู้สึกที่ดีในตนเอง พึงพอใจในตนเอง แทนการมองอนาคตที่เหลืออยู่อย่างมีความสุข