Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่14 การจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนา การเกษตร - Coggle…
หน่วยที่14 การจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนา การเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับความรู้
ความหมาย
เกิดการประสมประสานระหว่างสถานการณ์ค่านิยม ความรู้ในบริบท และรู้แจ้ง จนเกิดความเข้าใจเชื่อถือได้
การบูรณาการกับความรู้และประสบการณ์เดิม
ความรู้ที่มาจาก สารสนเทศที่ผ่านกระบวนการคิด เปรียบเทียบเชื่อมโยงกับความรู้อื่น
ความสำคัญ
ช่วยสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
ช่วยให้เกษตรกรและนักส่งเสริมสามารถพัฒนาตนเองให้ดํารงชีวิตอยู่ในสังคม
ช่วยแก้ปัญหาของตนเองและส่วนรวมได้ดี
ลักษณะ
ความรู้ชุมชน
เชิงปฏิบัติไม่เป็นทฤษฎี ไม่อ้างความเป็นสากล ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรเกี่ยวกับศาสนา
ศึกษาค้นคว้าวิจัย
ทางวิทยาศาสตร์ ลายลักษณ์อักษร, สื่อและเครื่องมือต่างๆ, เชิงปฏิบัติ
ประเภท
ภูมิปัญญาดั้งเดิม
ความรู้ที่สร้างขึ้นมาใหม่
การแสวงหา การถ่ายโอน
และการถ่ายทอดความรู้
การแสวงหา
วัตถุประสงค์
นําความรู้มาใช้ประโยชน์
สนองความอยากรู้อยากเห็น
วิธีการแสวงหา
นําภูมิปัญญาที่มีอยู่มาปรับใช้ให้ตอบสนองกลุ่มเป้าหมาย
การต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
การแสวงหาคาวมรู้ใหม่ๆ
การพัฒนาความรู้ขึ้นใหม่
การถ่ายโอนความรู้
จากบุคคลสู่บุคคล
จากบุคคลสู่กลุ่ม
จากกลุ่มสู่กลุ่ม
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้
องค์ประกอบ
กระบวนการเรียนรู้
คน
เทคโนโลยี
กระบวนการ
หาความรู้จากแหล่งต่างๆ
การแบ่งปันความรู้
การใช้หรือเผยแพร่ความรู้
หลักการ
ใชภูมิปัญญาบนฐานทรัพยากรท้องถิ่น,
การทํางานร่วมกัน, ร่วมกันพัฒนา, ดําเนินการแบบบูรณาการ, ทดลองและเรียนรู้,
นําความรู้จากภายนอกมาปรับใช้อย่างเหมาะสม, พัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ความหมาย
การจัดการโดยการรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน
ประยุกต์ใช้เพื่อให้ไดประโยชน์จากความรู้ด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเกษตรกร กลุ่มและชุมชนนั้นๆ
วิธีการจัดการความรู้
การทําฐานข้อมูล
ใช้เทคนิคการเล่าเรื่อง
ระบบพ่เีลี้ยง ประชุมระดมสมอง
ชุมชนนักปฏิบัต
ทบทวนหลังการปฏิบัติงาน
การสร้าง
และการยกระดับความรู้
วงจรเซกิ
สกัดความรู้ออกจากตัวคน
แลกเปลี่ยนนําไปสู่การขัดเกลาสังคม
ผนวกความรู้ชัดแจ้งเข้าด้วยกัน
ผนึกความรู้ในตน
ขั้นตอนการสร้างความรู้
ข้อมูล
สารสนเทศ
ความรู้
การใช้การจัดการความรู้
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง และแนวทางการจัดการความรู้
ปัจจัย
เป้าหมายความรู้, ลักษณะความรู้, ฐานความรู้ แหล่งความรู้, สมาชิกในกลุ่ม, ผู้นํากลุ่ม, นักส่งเสริม, เทคโนโลยี บรรยากาศและวัฒนธรรม, การมีเครือข่าย, การสนับสนุน, การประเมนิผล
แนวทาง
ส่งเสริมการมีส่วนร่วม, การจัดการความรู้, การค้นหาความรู้, การต่อยอดความรู้,
การปรับวิธีการที่ถ่ายทอด,
ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการทํางาน,การจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง, จัดการความรู้อย่างบูรณาการ,
เน้นการปฏิบัติจริง, จัดทําระบบฐานข้อมูล, มีผู้ประสาน, สร้างเครือข่าย, วิจัยเชิงปฏิบตัิการ, สอดแทรกความรู้ระหว่างการทํางาน
กรณีศึกษาการจัดการ
ความรู้ในระดับองค์กร และระดับชุมชน