Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงร่างกายผู้สูงอายุ
ปัจจัยภายนอก
เศรษฐกิจ
สิ่งแวดล้อม
การศึกษา
การเกษียณงาน
ปัจจัยภายใน
การมองโลก
ความเชื่อ
สุขภาพอนามัย
กรรมพันธุ์
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและสรีรวิทยาในผู้สูงอายุ
ระบบผิวหนัง
ผิวหนังทนต่อความเย็นได้น้อยลง
ผิวหนังบางลง
ผู้สูงอายุจึงเกิด
แผลกดทับได้ง่าย
ผิวหนังแห้งคันและแตกง่าย
ผมและขนมีจำนวนลดลง
เซลล์สร้างสีผมลดลง
การได้ยิน
ระดับเสียงสูงมากกว่าเสียงตำ่
การได้ยินลดลง หูตึง
การมองเห็น
ปฏิกิริยาตอบสนองของม่านตาต่อแสงลดลง
การปรับตัวในการมองเห็นไม่ดี
ลูกตามีขนาดเล็กลง
ผู้สูงอายุสามารถแยกสีแดง ส้ม เหลือง ได้ดีกว่าสีนำ้เงิน ม่วง และเขียว
สายตายาวขึ้น มองเห็นภาพใกล้ๆไม่ชัดเจน
ความไวในการมองภาพลดลง
ระบบประสาท
การตอบสนองต่อปฏิกิริยาต่างๆลดลง
เซลล์ประสาทมีจำนวนลดลง
ประสิทธิภาพการทำงานของสมองลดลง
ความจำเสื่อม
ความวิตกกังวลสูงขึ้น
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบภูมิคุ้มกันทำงานลดลง ทำให้ติดเชื้อได้ง่าย
กลไกการตอบสนองต่อเชื้อโรคลดลง
ผนังหลอดเลือดมีความยืดหยุ่นน้อยลง
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
นำ้ไขข้อลดลง
ความยาวของกระดูกลดลง
กระดูกเปราะและหักง่าย
เซลล์กระดูกลดลง
หมอนรองกระดูกบางลงทำให้หลังค่อม
ระบบทางเดินหายใจ
จำนวนถุงลมปอดลดลง
ผนังถุงลมแตกง่าย
ความยืดหยุ่นของเนื้อปอดลดลง
เกิดถุงลมโป่งพองง่าย
การติดเชื้อทางเดินหายใจได้ง่าย
เกิดโรคปอดบวมง่าย
ประสิทธิภาพการไอลดลง
ระบบทางเดินอาหาร
ต่อมนำ้ลายเสื่อมทำให้ย่อยแป้งและนำ้ตาลลดลง
ปากลิ้นแห้งมีการติดเชื้อในปากมากขึ้น
ฟันเปราะ บิ่นง่าย
ฟัวสึกกร่อน เคลือบฟันบางลง
การรับรสของลิ้นเสียทำให้เกิดภาวะเบื่ออาหาร
เกิดกรดไหลย้อนง่าย เนื่องจากกล้ามเนื้อหูรูดปลายหลอดอาหารอย่อนตัวลง
กล้ามเนื้อกระเพาะอาหารทำงานลดลง
การดูดซึมธาตุเหล็กและแคลเซียมลดลง
ระบบทางเดินปัสสาวะ
กระเพาะปัสสาวะมีความจุลดลงทำให้ปัสสาวะบ่อย
ผู้สูงอายุมีความเสี่ยงต่อภาวะขาดนำ้
ไต ขับของเสียออกจากร่างกายลดลง
เสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่าย
เกิดภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ไตวาย
ระบบต่อมไร้ท่อ
ตับอ่อนหลั่งอินซูลินลดลงและช้า
ต่อมเพศทำงานลดลง ทำให้ไม่มีประจำเดือน
ต่อมไทรอยด์ทีเนื้อเยื่อพังผืดสะสมมากขึ้นทำให้เกิดภาวะ hypothyroidism
ปัญหา สาเหตุ และการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการชะลอความเสื่อมในผู้สูงอายุ
กระดูกเปราะและหักง่าย ปวดข้อ
งดสูบบุหรี่และดื่มสุรา
บริหารข้อมากขึ้น
หลีกเลี่ยงการนั่งท่า
ขัดสมาธิ
พับเพียบ
รับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสุง
ลดนำ้หนัก
ระมัดระวังการเคลื่อนไหว
ป้องกันการหกล้ม
กล้ามเนื้อหัวใจตาย หัวใจวาย ความดันโลหิตสูง สมองขาดเลือด
หลีกเลี่ยงความเครียดต่างๆ
งดสูบบุหรี่ และดื่มสุรา
ออกกำลังกายสมำ่เสมอ
ลดความอ้วน
งดอาหารไขมันสูง
หลีกเลี่ยงเหตุการณ์ตื่นเต้นตกใจ
พักผ่อนให้เพียงพอ
ภาวะเบื่ออาหาร ขาดสารอาหารโลหิตจาง
รับประทานผักผลไม้เพิ่มขึ้น
รับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็ก
เลือกอาหารที่มีคุณค่าสูงครบทั้ง5หมู่
ดูแลความสะอาดปากและฟัน
ตรวจฟันทุก 6เดือน
การติดเชื้อในทางเดินหายใจและการสำลัก ถุงลมโป่งพอง หายใจเหนื่อยง่าย
บริหารการหายใจมากขึ้น
หลีกเลี่ยงการพูดขณะรับประทานอาหาร
แนะนำการฉีดวัควีนป้องกันการติดเชื้อทางเดินหายใจ
รับประทานอาหารช้าๆ
ไออย่างถูกวิธี
อุบัติเหตุ แผลบริเวณผิวหนัง
เปลี่ยนท่าเดินช้าๆ ไม่รีบร้อน
ตรวจผิวหนังอยู่เสมอ
หลีกเลี่ยงการประคบร้อนหรือเย็นจัดเกินไป
จัดสิ่งแวดล้อมให้เป็นระเบียบ
แสงสว่างเพียงพอ
เบาหวาน
ควบคุมอาหาร
รับประทานอาหารแป้งนำ้ตาลลดลง
ออกกำลังกายสมำ่เสมอ
ลดความอ้วน
ท้องผูก
ห้ามกลั้นอุจจาระ
รับประทานผัก ผลไม้มากขึ้น
หลี่กเลี่งความเดรียดต่างๆ
ดื่มนำ้มากๆ
หลีกเลี่ยงการใช้ยาถ่ายหรือยาระบายเป็นประจำ
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ตรวจต่อมลูกหมากทุกปี
เตรียมห้องนำ้ให้อยู่ใกล้และสะดวกใช้
บริหารกล้ามเนื้อหูรูดโดยการขมิบก้นบ่อยๆ
ต้อกระจก
ถนอมสายตา
ตรวจตาปีละ1ครั้ง
แสงสว่างเพียงพอ
ไม่ใช้สายตามากเกินไป
สังเกตอาการตามัวหากมีอาการมากขึ้น ปรึกษาแพทย์เพื่อลอกต้อออก
การนอนไม่หลับ
จัดสถานที่ให้เงียบสงบ
ดื่มนมอุ่นๆก่อนนอน
งดดื่มชา กาแฟ
นอนกลางวันน้อยลง
หูตึง
ตรวจหูปีละ1 ครั้ง
สังเกตุอาการหูตึงหากพบควาผิดปกติให้รีบปรึกษาแพทย์
แนะนำการใช้เครื่องช่วยฟัง
ผิวหนังแตกแห้งง่ายเหี่ยวย่น
หลีกเลี่ยงการใช้สบู่
ทาผิวหนังด้วยโลชั่น
หลีกเลี่ยงการอาบนำ้บ่อยๆ
หลีกเลี่ยงการสัมผัสแสงแดด
ความไม่สมดุลของนำ้ในร่างกาย
หลีกเลี่ยงที่อากาศร้อนเพื่อป้องกันการสูญเสียนำ้
แนะนำดื่มนำ้อย่างเพียงพอ
หนาวเย็น
ใส่เสื้อผ้าหนาๆในวันที่อากาศหนาวเย็น
การติดเชื้อในอวัยวะสืบพันธุ์ เจ็บขณะร่วมเพศ
ใช้สารหล่อลื่นขณะร่วมเพศ
แนะนำการดูแลความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ์