Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีความสูงอายุ, การหาความหมายของชีวิต เพื่อเสริม ความรู้สึกมีศักดิ์ศรี,…
ทฤษฎีความสูงอายุ
ประกอบด้วย 2 ทฤษฎี
เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพในร่างกาย
ทฤษฏีทางชีวภาพ
1.1 ทฤษฏีอนุมูลอิสระ
เกี่ยวข้องกับทฤษฎีจำกัดพลังงาน
ซึ่งสามารถช่วยลดการเผาผลาญได้ โดยเฉพาะ ไขมัน
เกิดจากการสะสมที่เผาผลาญพวก ไขมัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต
ร่วมกับ
การได้รับการกระตุ้นจากแสงอดด รังสี
ทำให้อนุมูลอิสระพวกนี้ไปทำลาย DNA Enzyme
ส่งผลอวัยวะเสื่อม
แก้ไข
กินจำพวกโปรตีนและคาร์โบไฮเดรตลดลง
หลีกเลี่ยงแสงแดด
ทาครีมกันแดด
กางร่ม
ทานอาหารพวก ต้ม ตุ๋น นึ่ง แทน
1.2 ทฤษฎีสะสม
หลีกเลี่ยงพวกไขมันและโปรตีน
เพราะจะทำให้เกิดสารสีเหลือง เรียกว่า " ไลโปฟัสซิน "
1.3 ทฤษฎีการเชื่อมตามขวางหรือคอลลาเจน
อายุมากขึ้นโปรตีนบางตัวเปลี่ยนแปลงเป็นไขว้กัน
อาจจะขัดขวางการเผาผลาญ
โดยอุดกั้นระหว่างภานในและนอกเซลล์ของสารอาหารและของเสีย
การทำงานลดลง
คอลลาเจนมีการเปลี่ยนแปลงเมื่ออายุมากขึ้น
ทำให้เกิดการแข็ง แตกแห้ง สูญเสียความยืดหยุ่น
ส่งผลให้ร่างกายเกิดความเสื่อม
เลนส์ในลูกตา
เกิดต้อกระจก
ผิวหนัง
1.4 ทฤษฎีความเสื่อมโทรม
คนคล้ายเครื่องจักร
ใช้งานมาก หรือใช้แบบหักโหม เกิดการตายของเซลล์
ร่างกายก็เสื่อมลงไปเรื่อยๆ
1.6 ทฤษฎีระบบประสาน/ต่อมไร้ท่อ ภูมิคุ้มกัน
เชื่อว่าความสูงอายุนั้นมีผลร่วมกับการเปลี่ยนแปลงระบบประสาท ต่อมไร้ท่อและภูมิคุ้มกันที่ทำหน้าที่ลดลง
มีผลทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย
1.5 ทฤษฎีพันธุกรรม
เกิดการกำหนดด้วยยีนใน DNA
เชื่อกันว่ามนุษย์สามารถคาดอายุขัยได้
ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม
เปลี่ยนแปลงทางจิตใจและสังคม มักมีผลกระทบ
ขึ้นอยู่กับ
โครงสร้างครอบครัว
เจตคติ
วัฒนธรรม
กิจกรรม
2.1 ทฤษฎีการถดถอย
ผู้สูงอายุบทบาทและหน้าที่จะลดลง
ทำให้
ปล่อยวางอิสระ
มีการแยกตัว
เมื่อมีปฏิสัมพันธ์ลดลง
ก็จะมีการเปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่เข้ามาทำหน้าที่แทน
2.2 ทฤษฎีการมีกิจกรรม
เราควรส่งเสริมการทำกิจกรรมของผู้สูงอายุ
อย่ายอมรับเป็นผู้สูงอายุเร็วไป
โดยบทบาทที่จะทำหรือกิจกรรมที่จะทำ ต้องไม่มีผลต่อโรค
2.3 ทฤษฎีความต่อเนื่อง
ขึ้นอยู่กับบุคลิกภาพและการดำเนินชีวิตในอดีต
เช่น แต่ก่อนเป็นอาจารย์เคยสอนหนังสือเด็ก
กิจกรรมเมื่อเข้าผู้สูงอายุ
อาจให้ไปทำกิจกรรมร่วมกับเด็กๆ หรือเกี่ยวกับการสอน อย่างที่เคยเป็น
2.4 แนวคิดพัฒนกิจชีวิตของอิริคสัน
ต้องมีการปรับตัวกับความเจ็บป่วย
ต้องปรับตัวต่อความสิ้นหวังไว้ด้วยความรู้สึกของตนเอง
ใช้ชีวิตอิสระ มีเป้าหมายในชีวิต
ทำบทบาทใหม่ให้ดีที่สุดและมีความหมาย
2.5 ทฤษฎีของเพค
ขยายแนวคิดของอิริคสัน
ให้เจาะจงกับการสร้างความรู้สึกการมีศักดิ์ศรี
สร้างความพอใจให้กับตนเอง
ให้หาความสุขทางใจมากกว่าหมกหมุ่นกับความจำ
ควรมองความประสบความสำเร็จในอดีตมากกว่าเวลาที่เหลืออยู่ในชีวิต
การหาความหมายของชีวิต เพื่อเสริม ความรู้สึกมีศักดิ์ศรี
ผู้สูงอายุจะยอมรับการเปลี่ยนแปลงได้
จึงต้องเปิดโอกาสและเคารพ จึงทำให้เขามีความสุข
นางสาวนภัสศุภางค์ ไวยพารา เลขที่ 35 62111301036 รุ่นที่ 37 นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 2