Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
การเปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุ
ปัจจัยภายในและภายนอกที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงผู้สูงอายุ
ปัจจัยภายในที่มีผลต่อผู้สูงอายุ
สุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ
ประสบการณ์ชีวิต
กรรมพันธุ์
ความเชื่อและวัฒนธรรม
ปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อผู้สูงอายุ
การเกษียณการทำาน
การจากไปของสมาชิกในครอบครัวที่เคยมีความสัมพีนธุ์กันอย่างใกล้ชิด
การศึกษาและเศรษฐฐานะ
การเปลี่ยนแปลงด้านสรีระวิทยาในผู้สูงอายุ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
Collagen มีความยืดยุ่นลดลงมีผลต่อการหดและคลายตัวของหัวใจ
การสะสมของ Lipofuscin ในเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจมีผลต่อการหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ ผู้สูงอายุมีอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุดลดลง 1ครั้ง/นาที เมื่ออายุเพิ่มขึ้น 1 ปี
Coronary arteries มีการเปลี่ยนแปลงเมื่ออายุมากขึ้น ทำให้หัวใจห้องล่างซ้ายโตขึ้นเล็กน้อย
pulse pressure เพิ่มขึ้น
ผู้สูงอายุมักมีอาการหน้ามืดเป็นลม เพราะหลอดเลือดไปเลี้ยงสมองไม่ทันขณะเปลี่ยนท่า
การหายใจ
กระดูกซี่โครง เคลื่อนไหวได้น้อยกว่ากระบังลมและกล้ามเนื้อผนังหน้าท้อง หายใจแบบ abdominal type
กระดูกอ่อนของกระดูกซี่โครง มีแคลเซียมมาสะสมมากขึ้น ทำให้ความยืดหยุ่นลดลง ผนังทรวงอกมีความแข็งตัวเพิ่มขึ้น
ถุงลมจะแบนลงและบางลง ผนังของถุงลมจะยืดขยายได้ลดน้อยลง
หมอนรองกระดูกสันหลังจะเริ่มเสื่อม แคลเซียมมาสะสมมากขึ้น มีผลให้หลังโกง ช่องอกมีปริมาตรลดลง
Trachea และ Bronchiole จะมี Elasticity ลดลง จำนวน cilia ลดน้อยลง
หู
ผู้สูงอายุมักจะได้ยินเสียงต่ำๆ ได้ชัดกว่าเสียงพูดธรรมดาหรือเสียงสูง การผลิตขี้หูลดลง แต่มีการสะสมของขี้หูมากขึ้น
หลอดเลือดไปเลี้ยงหูชั้นในเกิดภาวะแข็งตัว ทำให้เลือดไปเลี้ยงน้อยลง ผู้อายุมักเกิดอาการเวียนศรีษะได้ง่าย
ระบบทางเดินอาหาร
duodenum บางลงและเสื่อมหน้าที่เป็นเหตุให้การย่อยอาหารและการดูดซึมสารอาหารไม่ดี ทำให้เกิดการขาดสารอาหาร
การเคลื่อนไหวของลำไส้เล็ก และลำไส้ใหญ่ลดลง ทำให้เกิดภาวะท้องผูก
การดูดซึม วิตามินบี 12 ที่บริเวณ ilium ลดลงเกิด โรคโลหิตจางชนิด pernicious anemia
กล้ามเนื้อหูรูดชั้นนอกที่ทวารหนักหย่อนทำให้กลั้นอุจจาระไม่ได้
การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารลดลง การผลิดกรดเกลือ น้ำย่อย และเอนไซม์ต่างๆลดลง ผลจากกรดเกลือลดลงทำ ผู้สูงอายุ เกิดภาวะกระดูกผุ
ตับอ่อนทำหน้าที่เสื่อมลง ผลิตอินซูลินได้น้อย และ ที่ผลิตมานั้น มีประสิทธิภาพในการนำน้ำตาลเข้าสู่เนื้อเยื่อต่ำ ทำให้น้ำตาล ที่เหลือถูกสะสมเป็นไขมัน
ผมและขน
อัตราการงอกของผมลดลง เส้นผมมีขนาดเล็กลง ผู้หญิงอายุมากกว่า 65 ปี จะมีขนบริเวณริมฝีปาก และคาง เกิดจาก Androgen H. จากต่อมหมวกไต
เส้นผมบริเวณศรีษะลดน้อยลง รวมท้งขนรักแร้ และบริเวณหัวเหน่า ผู้ชายผมบนศรีษะ เคราลดลง มีขนเพิ่มที่ หู คิ้ว รูจมูก
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
เลือดไปเล้ยงไตได้น้อยลงกระเพาะปัสสาวะมีความจุลดลงในผู้ชายอาจมีปัสสาวะขัดเนื่องจากต่อมลูกหมากโต
ผู้หญิงกลั้นปัสสาวะ ไม่อยู่เพราะกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานหย่อนโดนเฉพาะในหญิงที่คลอดบุตรมาแล้วหลายคน
ตา
การลิตน้ำตาลดลง ทำให้ตาแห้งและเกิดการระคายเคือง
การมองเห็นวัตถุสีดำลอยไปมาในลูกตา เกิดจากความเสื่อมของวุ้นในลูกตา
Arcus senilis คือ วงแหวนขุ่นรอบตาดำ
การมองเห็นสีลดลง
เลนต์ตาเสื่อมความสามารถในการปรับระยะภาพสายตาจะยาว
ระบบกระดูกข้อและกล้ามเนื้อ
แคลเซียมที่สลายออกจากกระดูกจะไปเกาะบริเวณกระดูกอ่อน ชายโครง ทำให้การเคลื่อนไหวของทรวงลดลง
ความยาวของกระดูกสันหลังลดลงหมอนรองกระดูกบางลง กระดูกสันหลังผุมากขึ้น หลังค่อม
Estrogen Hormone ซึ่งกระตุ้นการทำงานของ Osteoblasts มีปริมาณลดลง ร่วมกับ Parathyroid Hormone ทำงานเพิ่มขึ้นด้วย Parathyoid Hormone เพิ่มขึ้นเพื่อเริ่งการสลายแคลเซียมให้เข้าสู่กระแสเลือด กระดูกของผู้สูงอายุจึงเปราะและหักง่ายแม้ว่าจะไท่ได้รับอุบัติเหตุ
ความยาวของกระดูกยาวคงที่ แต่ภายในจะกลวงมากขึ้น ความหนาแน่นของกระดูกลดลง ทำให้สูญเสียความแข็งแรงของกระดูก
ปากและฟัน
กล้ามเนื้อในการเคี้ยวมีแรงน้อยลง ตลอดจนกล้ามเนื้อในการกลืน
การรับรสทางลิ้นเสียไป การรับรสหวานจะเสียก่อนรสเค็ม เปรี้ยว คม
ฟันจะหลุด เคลือบฟันบาง แตกง่าย คล้ำขึ้น
ต่อมน้ำลายขับน้ำลายออกน้อย เป็นน้ำลายชนิดเหนียวข้นมากกว่าใส ทำให้ปากแห้งติดเชื้อในปากมากขึ้น
ระบบประสาทและสมอง
Neurotransmitters มีการเปลี่ยนแปลงคือ Nor epinephrine มีระดับลดลงทำให้ผู้สูงอายุมีภาวะซึมเศร้าได้มาก
Sensory nerves ลดลง พบว่าการรับการสั่นสะเทือนบริเวณส่วนปลายลดลง
เซลล์สมองและเซลล์ประสาทมีจำนวนลดลงเรื่อยๆ ทำให้น้ำหนักและขนาดสมองลดลง และเซลล์ประสาทมีสาร Lipofuscin และ Senile plaques ของ Amyloid มาสะสมมากขึ้น
ผู้สูงอายุจะมีความสามารถในการจำลดลง ( ยกเว้นเรื่องในอดีต )
ระบบผิวหนัง
ต่อมไขมันมีขนาดใหญ่แต่ผลิตน้ำมันได้น้อยลงทำให้ผิวแห้ง คัน และแตกง่าย
บริเวณที่ไขมันลดลงจะทำให้ผิวหนังได้รับอันตรายได้ง่าย
ต่อมเหงื่อเหี่ยวแฟบ ขับเหงื่อได้น้อย ทำให้ผิวแห้ง ผลจากการลดลงของ Testosterone H. ผู้สูงอายุจะมีกลื่นตัวลดลง
เซลล์สร้างสี Melanocyte ทำงานลดลง เส้นผมหรือสีผิวจางลง แต่ Pigment สะสมเป็นแห่งๆ เรียกว่า ตกกระ
เซลล์ผิวหนังมีจำนวนลดลง การสร้างเซลล์ใหม่ขึ้นมาทดแทนเซลล์เดิมลดลง การหายของแผลช้า
Macrophage บริเวณผิวหนังลดลง 70% มีผลต่อภูมิคุ้มกันลดลง ติดเชื้อได้ง่าย
ระบบสืบพันธุ์
เพศหญิง
พบว่ารังไข่หยุดทำงาน ขาดEstrogen H.ช่องคลอดจะแห้ง
เพศชาย
ฮอร์โมน Testosterone และ การสร้าง sperm ไม่ได้หยุดลงทันทีเมื่ออายุมากขึ้น ขนาดน้ำหนักของลูกอัณฑะลดลงเล็กน้อย
การเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมและวัฒนธรรม
การเปลี่ยนแปลงด้านขนบธรรมเนียบประเพณี และวัฒนธรรม
การขาดการเข้าร่วมกิจกรรมในสังคม
การเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยหรือการอพยพย้ายถิ่น มีการย้ายจากชนบทเข้าสู่เมืองมากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ
การสูญเสียสถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ เป็นวัยที่ต้องออกจากงานความสัมพันธ์ทางสังคมก็ลดลง จึงเกิดความรู้สึกเสียหน้าที่ อำนาจ
การสูญเสรยสัมพันธภาพในบทบาท
การสูญเสียบุคคลที่มีความหมายต่อตนเอง การสูญเสียคู่ชีวิต
การสูญเสียสมรรถภาพทางเพศ
การแสดงออกและพฤติกรรมของผู้สูอายุ
ด้านกลัวความแก่ ความจำ ความสวยลดลง แก่ไปลูกหลานจะรังเกลียด ไม่เอาใจใส่ ไม่น่านับถือ
ต้องการพึ่งพาผู้อื่นมากขึ้น
การแสดงออกทางอารมณ์ จิตใจไม่มั่นคง อารมณ์ไม่คงที่ หงุดหงิด โกรธง่าย
ยึดมั่นในความคิดของตนเอง
ความสนใจต่อสิ่งแวดล้อมลดลง
ต้องการร่วมสนทนามากขึ้น
ความคิดยืดมั่น
พฤติกรรมทางเพศเปลี่ยนแปลง