Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะที่1,2,3,4ของการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลในระยะที่1,2,3,4ของการคลอด
หลักของการมารดาที่อยู่ในระยะคลอด
1.ให้การพยาบาลที่มีประสิทธิภาพโดย
1.1 ดูแลให้ผู้คลอดมีความสุขสบาย
1.2 ใช้หลัก aseptic technique ตลอดระยะของการคลอด
1.3 เฝ้าดูและสังเกตอาการของผู้คลอดอย่างใกล้ชิด
1.4 ให้การพยาบาลแก่ผู้คลอดที่เกิดภาวะแทรกซ้อนอย่างรีบด่วนได้
2.เข้าใจถึงภาวะจิตสังคมของมารดาในระยะคลอด
-พยาบาลต้องเข้าใจและยอมรับปฏิกิริยาตลอดจนพฤติกรรมต่างๆ
-การให้คำแนะนำ และอธิบายเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติตนว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร
-การสร้างความมั่นใจโดยต้องอยู่ใกล้ชิดผู้คลอดให้มากที่สุด
การพยาบาลในระยะนี้แบ่งออกเป็น 2 ช่วง
การพยาบาลในระยะแรกรับ
การพยาบาลในระยะเจ็บครรภ์คลอด
การพยาบาลในระยะแรกรับ
1.การซักประวัติ
1.1 ข้อมูลทั่วไป
1.2 อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล
1.3 ประวัติการตั้งครรภ์ประจุบัน
1.4 ประวัติการตั้งครรภ์ และการคลอดในอดีต
1.5 ประวัติการเจ็บป่วยในอดีตและปัจุบัน
1.6 ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
2.การตรวจร่างกาย
2.1 การตรวจร่างกายทั่วไป
2.1.1 ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ถ้าพบความผิดปกติ เช่น ส่วนสูงน้อยกว่า 145 เซนติเมตรหรือมีลักษณะการเดินผิดปกติ อจทำให้การดำเนินการคลอดผิดปกติ
2.1.2 ตรวจสัญญาณชีพ ไม่ควรตรวจในขณะที่มดลูกหดรัดตัวเพราะอาจทำให้ได้ค่าที่ผิดปปกติ
2.1.3 ตรวจลักษณะร่างกายทั่วไป
2.1.4 ตรวจร่างกายตามระบบต่างๆ
2.2 ตรวจครรภ์
2.2.1 การดู ตรวจดูลักษณะทั่วไปของหน้าท้อง
2.2.2 การคลำ ใช้การคลำตาม Leopold 's handgrip ทั้ง 4 ท่า
2.2.3 ฟังเสียงอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์
2.2.4 ประเมินการหดรัดตัวของลูก เมื่อมีการหดรัดตัวจะรู้สึกว่ามดลูกแข็งตึง
2.3 ตรวจความก้าวหน้าของการคลอดจากการตรวจภายในช่องคลอด
2.4 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (laboratory test)
การเตรียมผู้คลอด
การเตรียมบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
การสวนอุจจาระ การสวนอุจจาระส่วนใหญ่ทำในผู้คลอดรับรายใหม่ไม่มีข้อห้าม ในผู้คลอดบางรายต้องงดหรือหลีเลี่ยงการสวนอุจจาระเนื่องจากอาจทำให้เกิดอัตรายต่อผู้คลอดและทารก
การทำความสะอาดร่างกาย
การพยาบาลด้านจิตสังคม
4.1 แสดงพฤติกรรมต้อนรับผู้คลอดด้วยสีหน้าที่ยิ้มแย้ม
4.2 แสดงพฤติกรรมยอมรับการแสดงออกของผู้คลอดเห็นอกเห็นใจ
4.3 ปฐมนิเทศผู้คลอดเกี่ยวกับสถานที่
4.4 ภายหลังการประเมินสภาระด้วยการชักประวัติและตรวจร่างกายแล้วควรบอกให้ผู้ตลอดสามีและญาติทราบว่าผู้ตลอดอยู่ในระยะใดของการคลอด
4.5 ปฏิบัติการพยาบาลด้วยความนุ่มนวล
4.6 หลังจากเตรียมผู้คลอดเพื่อการคลอดแล้วหากไม่มีภาวะแทรกซ้อนใด ๆ ที่ต้อง จำกัด กิจกรรมให้ผู้คลอดทำกิจกรรมต่างๆ
4.7 ควรอนุญาตให้สามีหรือญาติเข้ามาช่วยบีบนวดให้กำลังใจ
การบันทึกการพยาบาลเมื่อรับใหม่ผู้คลอด
ข้อห้ามในการสวนอุจจาระ
1) มีประวัติเลือดออกในช่องคลอด
2) เมื่อใกล้คลอด ครรภ์แรกปากมดลูกเปิด 8 เซนติเมตรขึ้นไป และศีรษะทารกลงมาอยู่ต่ำระดับ +2 ครรภ์หลังเปิด 6 เซนติเมตรขึ้นไป
3) มีถุงน้ำแตก เพราะอาจทำให้เกิดสายสะดือพลัดต่ำขณะเบ่งถ่ายอุจจาระ
4) ครรภ์ไม่ครบกำหนด อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์
5) มีความผิดปกติของหลอดเลือดและหัวใจ
6) ผู้คลอดที่เป็นริดสีดวงทวารระยะอักเสบ
7) ท่าและส่วนนำของทารกผิดปกติเพราะมีโอกาสเกิดถุงน้ำคร่ำแตก
8) มีอุจจาระร่วงภายในเวลา 24 ชั่วโมงก่อนสวนอุจจาระ
การพยาบาลในระยะเจ็บครรภ์คลอด
การพยาบาลด้านสุขวิทยา
1.1 การรับประทานอาหาร
1.2 การขับถ่าย
1.2.1 การขับถ่ายปัสสาวะการที่กระเพาะปัสสาวะเต็มจะขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูกและขัดขวางการเคลื่อนของส่วนน้ำทารกส่งผลให้ความก้าวหน้าของการคลอดล่าช้า
1.2.2 การขับถ่ายอุจจาระ เมื่อมีอุจจาระเต็มเพราะการมีอุจจาระเต็มจะขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก และการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
1.3 การพักผ่อนและการนอนหลับ
1.4 ท่าของผู้คลอดและการทำกิจกรรม ควรแนะนำให้ผู้คลอดเปลี่ยนอิริยาบถหลายๆ ท่า เช่น นั่ง ยืน คลาน นั่งยองๆ เดิน เป็นต้น
การพยาบาลเพื่อบรรเทาความเจ็บปวด
2.1 ให้ความรู้เกี่ยวกับการคลอด ควรให้ความรู้หรือคำแนะนำ ควรทำในขณะที่มดลูกยังหดรัดตัวไม่รุนแรงมากเพราะผู้คลอดยังมีสาธิมนการฟัง
2.2 ทบทวนเทคนิการผ่อนคลายความเจ็บปวดที่ผู้คลอดได้รับ เทคนิคการหายใจ การลูบหน้าท้อง การเพ่งจุดสนใจ การเบี่ยงเบนความสนใจและการนวดหลัง
2.3 ประคบด้วยความร้อนและความเย็น
2.4 การบรรเทาปวดด้วยน้ำ การบรรเทาปวดด้วยน้ำโดยการให้ผู้คลอดอาบน้ำ หรือนอนแช่ในอ่างอาบน้ำอุ่น ๆ ทำให้ผู้คลอดรู้สึกผ่อนคลายและบรรเทาความเจ็บปวด
การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
3.1 การตรวจภายนอก
3.1.1 การหดรัดตัวของมดลูก duration นานขึ้น ถ้ามากกว่า 90 วินาที ทารกจะขาดออกซิเจน
3.1.2 การเคลื่อนต่ำของส่วนนำ ตำแหน่ง FHS เมื่อเด็กเคลื่อนต่ำลงมาเสียง FHS จะเบนเข้าหา mid line
3.1.3 การเปลี่ยนแปลงของ show จากการที่ chorion แยกจาก decidua vera ทำให้เลือดปนมูกเพิ่มขึ้น
การควบคุมการหดรัดตัวของมดลูก
ผู้คลอดได้รับยาเพื่อกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ด้วยกานใช้ oxytocin drip ระมัดระวังภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น เช่น มดลูกรัดตัวถี่ มดลูกแตก ทารกในครรภ์เกิดภาวะขาดออกซิเจน
การประเมินสภาพของมารดาและทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด
การพยาบาลด้านจิตสังคมในระยะ latent ที่ผู้คลอดรู้สึกเจ็บครรภ์เล็กน้อยโดยมีความรู้สึกดีใจตื่นเต้นที่การตั้งครรภ์กำลังจะสิ้นสุดลง แต่ก็อาจรู้สึกกลัวหรือวิตกกังวล จึงควรให้การพยาบาลโดยรับฟังสิ่งที่ผู้คลอดพูดคุยด้วยท่าทีที่สนใจ ตอบข้อซักถามที่ผู้คลอดสงสัยด้วยข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อลดความวิตกกังวลจากการรับรู้ที่ผิด
การพยาบาลในระยะที่ 2 ของการคลอด
การหดรัดตัวของมดลูก
ประเมินทุก 5-10 นาที หรือทุกครั้งที่มดลูกมีการหดรัดตัวและคลายตัว ระยะนี้มดลูกจะหดรัดตัวทุก 2-3 นาที นานประมาณ 50-60 วินาทีไม่เกิน 90 วินาที โดยเฉพาะมารดาครรภ์หลังควรระวังเป็นพิเศษ เพราะอาจทำให้เสียเลือดมาก shock และเสียชีวิตได้ส่วนทารกในครรภ์อาจเกิดภาวะขาดออกซิเจนเนื่องจากการไหลเวียนของเลือดบริเวณมดลูกและรกลดลง
สภาวะของทารกในครรภ์
การฟังเสียงหัวใจทารกทุก 15 นาที รายที่มีภาวะผิดปกติต้องฟังทุก 5 นาที ปกติอัตราการเต้นของหัวใจทารกอยู่ในช่วง 120-160 ครั้ง/นาที ถ้าพบว่าอัตราการเต้นของหัวใจทารกน้อยกว่า 100 ครั้ง/นาที หรือมากกว่า 160 ครั้ง/นาที แสดงว่าทารกในครรภ์มีภาวะขาดออกซิเจน
สภาวะของผู้คลอด
สังเกตสิ่งผิดปกติของผู้คลอดทั้งทางร่างกายและจิตใจ ถ้าการคลอดไม่ก้าวหน้าจะรู้สึกท้อแท้หมดกำลังใจ บางคนอาจแสดงอาการก้าวร้าวเมื่อมดลูกหดรัดตัว และเมื่อมดลูกคลายตัว การพยาบาลที่ให้
3.1 การตรวจและบันทึกสัญญาณชีพ
3.2 ควรงดน้ำและอาหาร
3.3 ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่างอยู่เสมอ
3.4 การพักผ่อน
3.5 ให้การช่วยเหลือเกี่ยวกับความเจ็บปวดในการคลอด ระยะแรกของการเบ่ง ควรช่วยนวดลึกๆ บริเวณ sacrum
การสำรวจการเบ่ง
4.1 ดูระยะที่ห่างของแรงเบ่ง ระยะใกล้คลอด มดลูกจะหดตัว 2-3 นาที ระยะการหดตัวประมาณ 50-60 วินาที
4.2 การเบ่งทุกครั้งต้องสัมพันธ์กันกับการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก
4.3 แนะนำวิธีการเบ่งให้แก่ผู้คลอด
4.4 ควรฟังเสียงหัวใจเด็กภายหลังจากมดลูกคลายการหดรัดตัวทุกครั้ง
การสำรวจการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
5.1 Pawlik's grip
5.2 Bilateral inguinal grip
5.3 ตำแหน่งของเสียงหัวใจเด็กที่ฟังได้ชัดที่สุด
5.4 ตรวจสังเกตดูบริเวณฝีเย็บ
5.5 การตรวจทางทวารหนักหรือทางช่องคลอดเพื่อดูระดับของส่วนนำ
สภาวะจิตใจของผู้คลอด
6.1 แจ้งให้ผู้คลอดทราบถึงความก้าวหน้าของการคลอด
6.2 เข้าใจพฤติกรรมของผู้คลอด และให้คว่มเห็นใจ
6.3 ให้คำชมเชย ให้กำลังใจและความมั่นใจในความสามารถของการคลอด
6.4 ระมัดระวังในคำพูด
การพยาบาลในระยะที่ 4 ของการคลอด
ระยะ 2 ชั่วโมงแรกหลังจากรกคลอด เป็นระยะที่ 4 ของการคลอด
ระยะที่อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ คือ การตกเลือด
พยาบาลควรสังเกตอาการและปฏิบัติต่อมารดาในระยะ 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
จัดให้ผู้คลอดนอนหงายราบในท่าที่สบาย เพื่อให้แผลที่เย็บไม่ตึงเกินไป
ดูแลสภาพร่างกายผู้คลอดให้สะอาด
สังเกตการหดรัดตัวของมดลูกทุก 15 นาที ใน 1 ชั่วโมงแรกหลังคลอด และทุก 30 นาที ในชั่วโมงที่ 2 หลังคลอดทันที
สังเกตจำนวนและลักษณะของเลือดที่ออกทางช่องคลอด ปกติมีการเสียเลือดหลังรกคลอด ประมาณ 100-200 มิลลิลิตร ระยะที่ 4 ของการคลอดนี้จะมีเลือดออกอีก 100 มิลลิลิตรซึ่งรวมแล้วผู้คลอดจะเสียเลือดประมาณ 300 มิลลิลิตร แต่ถ้ามีเลือดออกมาจำนวนเกิน 500 มิลลิลิตรขึ้นไปถือว่ามีการตกเลือดหลังคลอดเกิดขึ้น การเสียเลือดในระยะหลังคลอดน้อยกว่า 500 มิลลิลิตร อาจจะทำให้มีอันตรายถึงแก่ชีวิตได้
ตรวจดูกระเพาะปัสสาวะให้ว่างอยู่เสมอ ถ้ากระเพาะปัสสาวะเต็มซึ่งจะกีดขวางการหดรัดตัวของมดลูกตกเลือดหลังคลอดได้เนื่องจากกระเพาะปัสสาวะเต็มกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะจะคลายตัวทำให้กล้ามเนื้อมดลูกคลายตัว
วัดความดันโลหิต ชีพจร
ตรวจดูบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ดูแลให้ผู้คลอดได้รับอาหารเหลวหลังคลอด
ผู้คลอดมักมีความอ่อนเพลียจากการคลอด
ผู้คลอดที่มีแผลฝีเย็บหรือมีการหดรัดตัวของมดลูกที่รุนแรง
การให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายของมารดา
ส่งเสริมสัมพันธภาพของครอบครัววิธีการดูแลทารกเกิดและการช่วยเหลือผู้คลอดในบางกิจกรรมที่ยังปฏิบัติด้วยตนเองได้ไม่ถนัดเพราะร่างกายเหนื่อยอ่อนเพลียและเจ็บแผลบริเวณฝีเย็บเช่นการช่วยอุ้มทารกดูดนมการทำความสะอาดร่างกายทารกเมื่อปัสสาวะหรืออุจจาระ
การบันทึกรายงานการคลอด
การย้ายผู้ป่วยออกจากห้องคลอด
การพยาบาลในระยะที่ 3 ของการคลอด
การป้องกันการตกเลือด
1.1 จัดผู้คลอดนอนหงายในท่าคลอดหรือท่าขึ้นขาหยั่ง
1.2 ถ้ากระเพาะปัสสาวะเต็มให้สวนปัสสาวะทันที
1.3 การฉีดยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ในรายที่ความดันโลหิตสูงกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอท ถ้าสูงเกิน 140/90 มิลลิเมตรปรอท ฉีด syntocinon
การรักษาความสะอาด
ในระยะนี้การปราศจากเชื้อมีความจำเป็นมาก ผู้คลอดมีความต้านทานร่างกายต่ำ ถ้ามีการฉีกขาด ชอกช้ำ หรือถลอกของเนื้อเยื่อในช่องคลอด เป็นหนทางที่เชื้อโรคเจริญเติบโตได้ดี
การให้ความอบอุ่น
ในระยะนี้จำเป็นมากโดยเฉพาะเวลาที่อากาศค่อนข้างเย็น เพราะร่างกายสูญเสียความร้อนจากร่างกายมาก และเสียพลังงานมากในการเบ่งคลอด เสียเหงื่อและแรงพร้อมทั้งเสียไปกับตัวทารกและน้ำคร่ำที่ออกมาด้วย
การสังเกต
4.1 ลักษณะทั่วไป
1) ชีพจร
2) ความดันโลหิต
3) ผิวหนัง
4.2 สังเกตการฉีกขาดของแผลฝีเย็บ
4.3 สังเกตมดลูก ขนาดและความแข็งตัวหรือการหดรัดตัว
การทำคลอดรก
5.1 คลอดเองตามธรรมชาติ
5.2ผู้ทำคลอดช่วยเหลือให้รกคลอดมี 3 วิธี
5.2.1 Modified crede' maneuver
5.2.2 Brandt-Andrews Maneuver
5.2.3 Cord traction
ุ6. การตรวจรกและเยื่อหุ้มทารก
6.1 ตรวจสายสะดือ การตรวจจะมองเห็นเส้นเลือดบนสายสะดือ 3 เส้น คือ umbilical vein 1 เส้น และ umbilical artery 2 เส้น
6.2 ตรวจเยื่อหุ้มเด็ก
1) รอยแตกของถุงเยื่อหุ้มเด็ก รกเกาะอยู่โพรงมดลูกปกติจะห่าง 7 เซนติเมตร
2) สัดส่วนของเยื่อหุ้มเด็กทั้งสองชั้นว่าสมดุลกันหือไม่
3) ขนาดของถุงเยื่อหุ้มเด็กว่ามีสัดส่วนสมดุลกับขนาดของตัวเด็กหรือไม่
ุ6.3 ลักษณะรูปร่างทั่วไป
6.3.1 ตรวจรกด้านเด็ก
6.3.2 ตรวจรกด้านแม่
6.4 ตรวจดู chorion