Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนาบทเรียนแสวงรู้บนเว็บ (WebOuest) รายวิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น…
การพัฒนาบทเรียนแสวงรู้บนเว็บ (WebOuest) รายวิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ร่วมกับทฤษฏีสร้างสรรค์ความรู้ (Constructivism) ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์
วัตถุประสงค์
- เพื่อพัฒนาบทเรียนแสวงรู้บนเว็บ รายวิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามรูปแบบที่พัฒนาขึ้น
- เพื่อหาความก้าวหน้าทางการเรียนของผู้เรียน ที่เรียนด้วยบทเรียนแสวงรู้บนเว็บ
รายวิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามรูปแบบที่พัฒนาขึ้น
- เพื่อสังเคราะห์รูปแบบบทเรียนแสวงรู้บนเว็บ รายวิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ร่วมกับทฤษฏีสร้างสรรค์ความรู้ ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์
- เพื่อหาความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
ด้วยบทเรียนแสวงรู้บนเว็บ รายวิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ตามรูปแบบที่พัฒนาขึ้น
-
-
ขอบเขตการวิจัย
ด้านคุณสมบัติของบทเรียน
บทเรียนแสวงรู้บนเว็บ รายวิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
ที่พัฒนาขึ้นนั้น นำแนวคิดในการพัฒนามาจากรูปแบบ
บทเรียนแสวงรู้บนเว็บ รายวิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 ร่วมกับทฤษฏีสร้างสรรค์ความรู้
ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์
ด้านกลุ่มตัวอย่าง
ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนชุมชนวัดหมน ต.ท่าเรือ
อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
คัดเลือกแบบเจาะจง 1 ห้องเรียน จำนวน 31 คน
ด้านกรอบแนวคิด
กระบวนการเรียนรู้ด้วยบทเรียนแสวงรู้บนเว็บ รายวิชาประวัติศาสตร์
ท้องถิ่น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 ร่วมกับทฤษฏีสร้างสรรค์ความรู้
ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์
ด้านตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรตาม
ความก้าวหน้าทางการเรียนและความพึงพอใจของผู้เรียน ต่อการเรียนด้วยบทเรียนแสวงรู้บนเว็บ รายวิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ร่วมกับทฤษฏีสร้างสรรค์ความรู้ ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์
ตัวแปรต้น
กระบวนการเรียนรู้ด้วยบทเรียนแสวงรู้บนเว็บ
รายวิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1
ตามรูปแบบที่พัฒนาขึ้น
ด้านเนื้อหา
สาระการเรียนรูรายวิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น จังหวันครศรีธรรมราช
ได้แก่ องค์ความรู้เกี่ยวกับท้องถิ่นต่าง ๆ
-
อ้างอิง
วชิรพรรณ ทองวิจิตร. (2555). การพัฒนาบทเรียนแสวงรู้บนเว็บ
(WebOuest) รายวิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ร่วมกับทฤษฏีสร้างสรรค์ความรู้
(Constructivism) ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์.
สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
สรุป
คะแนนเฉลี่ย 3 บท ความก้าวหน้าทางการเรียนรู้ของผู้เรียน
มีความก้าวหน้าผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 22 คน คิดเป็นร้อยละ 70.97
โดยคะแนนเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.43
ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านที่ผลประเมินสูงสุด คือ ด้านความสนใจของผู้เรียน
-