Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมสำหรับเด็กที่ อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ - Coggle…
การวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมสำหรับเด็กที่
อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
วัตถุประสงค์
เพื่อสร้างนวัตกรรมในการช่วยเหลือเด็กในด้านการอ่าน การเขียน ทดลองนำนวัตกรรมไปใช้ นำนวัตกรรมกลับมาปรับปรุงให้ดีขึ้น
จนได้นวัตกรรมที่มีคุณภาพ
สรุป
นวัตกรรมทั้งหมดมีคุณภาพดี สามารถนำไปพัฒนาทักษะในการอ่าน เขียนของเด็กได้
เด็กมีความสามารถในการอ่านและเขียนดีขึ้นหลังจากใช้นวัตกรรมทั้ง 17 ชุด
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ระเบียบวิธีวิจัยแบบกลุ่มตัวอย่างเดียว
ขอบเขตการวิจัย
ขอบเขตด้านตัวแปร
ตัวแปรต้น
เป็น Treatment หรือ Itervention ได้แก่ นวัตกรรม 17 ชุด
ตัวแปรตาม
ความสามารถในการอ่าน
ความสามารถในการเขียน
ประชากร
เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ไม่มีความบกพร่องอย่างอื่นร่วมด้วย
กลุ่มตัวอย่าง
เด็ที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ในระดับชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนบางบัว กรุงเทพมหานคร โรงเรียนสาธิต สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม พิษณุโลก และ โรงเรียนสาธิต สถาบันราชภัฏมหาสารคาม
ปัญหา
ครูไม่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเด็ก
ที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ (เด็ก LD)
ครูไม่ใช้วิธีการสอนที่เหมาะสมกับเด็ก
ขาดเอกสาร คู่มือ แบบฝึก เป็นต้น
วิธีดำเนินการวิจัย
การหาคุณภาพเครื่องมือ
แบบสอบถาม
หาคุณภาพแบบอิงกลุ่ม
สถิติที่ใช้
ร้อยละ
กราฟเส้นตรง
ข้อมูลเชิงพรรณา
เครื่องมือที่ใช้
นวัตกรรม 17 ชุด
ชุดฝึก 14 ชุด
อ้างอิง
ผดุง อารยะวิญญู
.
(2545).
การวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมสำหรับ
เด็กที่อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
. ภาควิชาการศึกษาพิเศษ
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
.