Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง
Stages of CKD
1.
GFR>91 mL/min/1.73 M2 + damage
2.
GFR 60-89 mL/min/1.73 M2 + damage
3.
GFR 30-59 mL/min/1.73 M2
4.
GFR 15-29 mL/min/1.73 M2
5.
GFR<15 mL/min/1.73 M2 ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย:ESRD (End Stage Renal Disease)
จะเริ่มทำการบำบัดทดแทนไต(RRT)เมื่อ
มีระดับ eGFR น้อยกว่าหรือเท่ากับ 6 มล./นาที/1.73 ตารางเมตร
และไม่พบเหตุที่ทำให้ไตเสื่อมการทำงานชั่วคราว
CKD 5 ที่มีระดับ eGFR มากกว่า 6 มล./นาที/1.73 ตารางเมตรแต่มีภาวะแทรกซ้อนอย่างหนึ่งอย่างใดในต่อไปนี้
Volume overload
heart failure
severe hypertension
Hyperkalemia
severe metabolic acidosis
hyperphosphatemia
Uremic encephalopathy
ชัก
Uremic pericarditis
คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
การบำบัดทดแทนไต มี 3 วิธี
Kidney transplantation การปลูกถ่ายไต
The best modality of RRT
Quality of life near normal
people
Must: immunosuppressive drugs
But: shortage of kidney donor
Complications
rejection
infection
cancer
Hemodialysis
ใช้hemodialysis machine และทำในโรงพยาบาลหรือศูนย์ฟอก
เลือดที่อยู่นอกโรงพยาบาล
พยาบาลไตเทียมเป็นผู้ดูแลเป็นส่วนใหญ่
ต้องมีทางเข้าออกของเลือด vascular access →double lumen
catheter, perm catheter, AVF, AVG
ใช้เวลา 4-5 hr, ทำ 2-3 ครั้ง/สัปดาห์
ขจัดของเสียและน้ำส่วนเกินได้อย่างรวดเร็ว
จำกัดน้ำและ electrolyte เช่น potassium, sodium, phosphorus
อาจจะไม่เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่มีอาการไม่คงที่หรือpoor cardiac
reserve
Peritoneal dialysis การล้างไตผ่านทางช่องท้อง
ทำโดยผู้ป่วย และ/หรือญาติ/ผู้ดูแล ที่บ้าน
ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่อง และไม่ต้องใช้ตัวกรองฟอกเลือด
การแลกเปลี่ยนของเสียโดยใช้ peritoneum membrane ของผู้
ป่วย
ทำวันละ 3-5 รอบ ทุกวัน
ขจัดของเสียและน้ำส่วนเกินช้าๆ
มีความยืดหยุ่น สามารถปรับตามบริบทของผู้ป่วยได้
ติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่องโดยผู้ป่วยกับพยาบาลPDในช่อง
ทางต่างๆและมาFU ทุก 1-2 เดือน
Peritoneal dialysis มีหลายรูปแบบ
CAPD: continuous ambulatory peritoneal
dialysis
NIPD: nocturnal intermittent peritoneal dialysis
CCPD: continuous cycling peritoneal dialysis
CAPDและNIPD ใช้เครื่อง
Automated PD
APD: automated peritoneal dialysis เครื่องทำการ
ล้างไตทางช่องท้องแบบอัตโนมัติ
เครื่องAPD: เป็นการรักษาที่ใช้เครื่องล้างไตทางช่องท้องอัตโนมัติสามารถทำได้เองที่บ้านขณะที่นอนหลับ
ผู้ป่วยไม่ต้องปล่อยน้ำยาเข้า/ออกเอง ไม่ต้องชั่งตวงน้ำยาเอง
โดยใช้เครื่องดังกล่าวล้างไตแทน
การใช้งานง่าย
เครื่องมีขนาดเล็กสะดวกในการนำไปใช้ในที่ต่างๆ
ใครบ้างที่สามารถทำPDได้
ผู้ป่วย ESRD ทุกรายที่ไม่มีข้อห้ามทางคลินิกสามารถเลือกวิธี
peritoneal dialysis ได้ถ้าชอบวิธีนี้
นโยบาย CAPD first policy ของประเทศไทย ทำให้ผู้ป่วย ESRD ที่ใช้สิทธิบัตรทอง(universal coverage: UC) ได้รับการรักษาวิธีนี้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายตั้งแต่เริ่มผ่าตัดฝังสายล้างไตทางช่องท้องจนกระทั่งปลูกถ่ายไต
ข้อห้ามสมบูรณ์ (ห้ามทำโดยเด็ดขาด):
ผนังหน้าท้องเปิด ไม่สามารถค้างน้ำในช่องท้องได้(omphalocele
gastroschiisis) และไม่สามารถผ่าตัดแก้ไขได้
มีพังผืดภายในช่องท้องมากจนไม่สามารถวางสายได้
มีสภาพจิตบกพร่องอย่างรุนแรง ซึ่งอาจกระทบต่อการรักษาด้วย
วิธี CAPD (ต้องได้รับการยืนยันจากจิตแพทย์)
มีช่องทางติดต่อระหว่างช่องท้องและช่องปอด ที่ไม่สามารถผ่าตัด
แก้ไขได้
มีไส้เลื่อนบริเวณหน้าท้อง ถุงอัณฑะ ไม่สามารถผ่าตัดแก้ไขได้
ข้อห้ามสัมพัทธ์ในการทำ PD(ทำได้ด้วยความ
ระมัดระวัง)
มีสิ่งแปลกปลอมในช่องท้อง เช่น Vascular graft, VP shunt
(รอ 4 เดือน)
ภาวะไส้เลื่อนขนาดเล็กที่ยังไม่ได้รับการแก้ไข (รอ 6 สัปดาห์)
มีช่องติดต่อระหว่างช่องท้องกับอวัยวะนอกช่องท้อง เช่น
gastrostomy colonostomy ileostomy
น้ำหนักมากกว่า 90 kg หรือ BMI > 35
โรคลำไส้อักเสบติดเชื้อเรื้อรัง เช่น recurrent divertculitis
การติดเชื้อที่ผนังช่องท้องและผิวหนังตำแหน่งที่จะวางสาย
มีรอยโรคผิวหนังเรื้อรังที่ผนังช่องท้องบริเวณที่วางสาย
มีท่อเชื่อมจากในช่องท้องสู่ภายนอกGastrostomy,
Colostomy, Ileostomy
มีก้อนขนาดใหญ่ในช่องท้อง หรือมีอวัยวะในช่องท้องโตจนไม่
สามารถทำได้
มีภาวะทุพโภชนาการอย่างรุนแรง
ไม่มีผู้ดูแล/ญาติช่วยทำเช่น กรณีอัมพาตทั้งตัว ตาบอด มีค
วามบกพร่องทางสติปัญญา
Principle of peritoneal dialysis
Diffusion: ขจัดของเสีย (uremic toxins)
Convection (osmosis): ขจัดน้ำส่วนเกิน
Convection คือการขจัดน้ำ: อาศัยOsmotic agent
Osmotic agent: 1.5%, 2.5%, 4.25% dextrose
อาศัยความแตกต่างระหว่าง osmolarity ในเลือดกับในน้ำยา
ฟอกเลือด
กลูโคสมี osmolarity สูงกว่าใน serum/ Serum osmolarity
280 mmol/l
กลูโคสหากแช่ท้องนานสามารถดูดซึมกลับคืนสู่ร่างกายได้
การใช้ความเข้มข้นน้ำตาลมากเกินไปมีผลเสียต่อ peritoneal
membrane
ปกติใช้ความเข้มข้น 1.5% เป็นหลัก
ผู้ป่วยบัตรทองยังต้องใช้ dialysate glucose เป็นหลักอยู่
ส่วนผู้ป่วยที่เบิกตรงสามารถเลือกวิธีและพิจารณาใช้ น้ำยาที่ไม่
ใช่กลูโคส เช่น icodextrin ได้
Absorption: ดูดซึมกลูโคสกลับเข้าร่างกาย
ส่วนประกอบที่สำคัญของPeritoneal dialysate
Dextrose
1.5, 2.5, 4.25 %
Sodium 132 mEq/L
Potassium 0 mEq/L
Calcium 2.5-3.5 mEq/L
Magnesium 0.5-1.5 mEq/L
Lactate 35-40 mEq/L