Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Continuous ambulatory peritoneal dialysis (CAPD) - Coggle Diagram
Continuous ambulatory peritoneal dialysis (CAPD)
ผู้ป่วย ESRD สามารถทำได้ทุกรายที่ไม่มีข้อห้ามทางคลินิก
Principle of CAPD
Diffusion
ขจัดของเสีย
Convection
ขจัดน้ำส่วนเกิน
osmotic agent คือ น้ำตาลกลูโคส
อาศัยความแตกต่างระหว่าง osmolarity ในเลือดกับน้ำยาฟอกเลือด
Absorption
ดูดซึมกลูโคสกลับเข้าร่างกาย
ห้ามทำในผู้ป่วยที่มีอาการต่อไปนี้
ผนังหน้าท้องเปิด ไม่สามารถค้างน้ำในช่องท้องได้ และไม่สามารถผ่าตัดแก้ไขได้
มีพังผืดภายในช่องท้องมาก
มีสภาพจิตบกพร่องรุนแรง
มีช่องทางติดต่อระหว่างช่องท้องและช่องปอด ที่ไม่สามารถผ่าตัดแก้ไขได้
มีไส้เลื่อนบริเวณหน้าท้อง ถุงอัณฑะ ไม่สามารถผ่าตัดแก้ไขได้
Peritoneal dialysate
ลักษณะที่ผิดปกติ
น้ำยาขุ่น
น้ำยาเป็นวุ้น
ส่วนประกอบสำคัญ
Dextrose
Sodium
Potassium
Lactate
Calcium
Magnesium
ขั้นตอนการเปลี่ยนถ่ายน้ำยา
Fill
เติมน้ำยาสู่ช่องท้อง
Dwell
ค้างน้ำยาในช่องท้อง
Drain
ปล่อยน้ำยาออก
วิธีมาตรฐานของ CAPD
เปลี่ยนน้ำยาทุก 4-6 รอบ/วัน
ค้างไว้ในช่องท้อง 4-8 ชม/รอบ
ทำทุกวัน
สถานที่เปลี่ยนน้ำยา
สะอาด แห้ง ไม่มีฝุ่น
พื้นที่เป็นสัดส่วน และพื้นที่ปิด
ไม่มีสัตว์เลี้ยง
ปิดพัดลมเวลาเปลี่ยนน้ำยา
Nutrition สำหรับผู้ป่วย CAPD
พลังงาน 30-35 kcal/kg/day
โปรตีน 1.2-1.3 gm/kg/day (ประมาณ 2 ช้อนโต๊ะ/น้ำหนัก 10 kg)
โปตัสเซียม ไม่จำกัดมาก แนะนำให้ผลไม้มากได้
Complication ที่พบบ่อย
การติดเชื้อในช่องท้อง (Peritonitis)
อาการ
น้ำยาขุ่น
ปวดท้อง
มีไข้
การติดเชื้อที่แผลหน้าท้อง
ปวด บวม แดง
มีน้ำเหลือง หรือหนองไหลออกมา