Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับกระดูกข้อ และกล้ามเนื้อ🍗🏋️♀️👨…
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับกระดูกข้อ และกล้ามเนื้อ🍗🏋️♀️👨🦼
ข้อแพลง (sprain)
การฉีกขาดของเส้นเอ็นหุ้นข้ออาจขาดบางส่วนหรือขาดตลอดข้อเพลง
Grade1:mild sprain
Grade2:Moderate sprain
Grade 3:severe sprain
ข้อเคล็ด (strain)
แบบเฉียบพลัน
การเคลื่อนไหวอวัยวะอย่างรวด
แบบเรื้อรัง
เกิดจากการใช้อวัยวะนั้นๆเป็นเวลานานๆ
สาเหตุ
เกิดจาการหกล้ม ตกหลุมหรือเล่นกีฬา
อาการแสดง
ปวดข้อมาก ปวดมากเวลาเคลื่อนไหว
การปฐมพยาบาลข้อเคล็ดหรือข้อแพลง
พักให้ข้อพักนิ่งๆ
ยกมือ เท้าข้างที่เจ็บให้สูงขึ้นกว่าปกติ
24 ชั่วโมงแรกให้ประคบด้วยความเย็น จากนั้นให้ประคบด้วยความร้อน
พันด้วยผ้ายืดไม่ควรแน่นเกินไป
ภายใน 7 วัน หากไม่ดีควรพบแพทย์
ข้อเคลื่อน dislocation
สาเหตุ
เกิดจาการกระททบกระแทกหรือเกิดจาการเหวี่ยง ถูกกระชากอย่างแรงที่ข้อนั้น
อาการแสดง
ปวด
บวม
สภาพวิกลรูป
ท่าทาง
การเคลื่อนไหวผิดปกติ
การตรวจเส้นประสาทและหลอดเลือด
การรักษา
การดึงข้อกลับเข้าที่
การตรึงข้อ
การบริหารข้อและกล้ามเนื้อรอบข้อ
โรคกระดูกพรุนหรือโรคกระดูกโปร่งบาง
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคกระดูก
การกินอาหารที่ไม่ถูกสัดส่วน
กรรมพันธ์ุ
สูบบุหรี่ดื่มสุรา
น้ำหนักตัว
การรักษา
การออกกำลังกาย
ขจัดปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้สูญเสียเนื้อกระดูก
การรักษาด้สนยา
กระดูกหักแบบปิด
Compartment syndrome
Parenthesis ชา
Pallor ซีด
Paralysis อ่อนแรง
Pulseless คลำ p. ไม่ได้
Polar เย็น
Pain ปวด
หลักการรักษากระดูกหัก5R/6R
1.Recognitionเป็นการตรวจวนิฉัยให้ได้ว่ามีกระดูกหักหรือข้อเคลื่อนหรือไม่
2.Reductionคือการจดักระดูกให้เข้าที่
2.1Closedreductionเป็นการจัดชิ้นกระดูกโดยไม่เห็นรอยหักโดยตรง
2.2Openreductionเป็นการจดั ดึงชิ้นหักให้เข้าที่โดยการผ่าตัดเข้าไปบริเวณรอยหัก
Retention คือ ให้กระดูกอยู่นิ่งกับที่หลังจากจัดกระดูกเข้าที่
4.Rehabilitationคือ ฟื้นฟูสมรรถภาพส่วนที่บาดเจ็บ
Reconstruction คือ แก้ไขซ่อมแซมส่วนที่สูญเสียจากการบาดเจ็บ
6R คือ Refer การส่งต่อที่เหมาะสม
กระดูกหักแบบปิด
กระดูกหัก (fracture)
สาเหตุ
แรงกระทำ
แรงกระทำโดยตรง
แรงกระทำทางอ้อม
การกระตุกหรือการหดตัวของกล้ามเนื้ออย่างแรง
การหักหรือหลุดของกระดูกและข้อที่มีโรคหรือพยาธิสภาพอยู่ก่อนแล้ว
การพยาบาลผู้ป่วยข้อเสื่อม osteoarthritis
สาเหตุ
อายุมากขึ้นจะเกิดความเสื่อมของกล้ามเนื้อและเอ็นที่ยึดข้อทาให้ข้อไม่มั่นคง
การได้รับบาดเจ็บบริเวณข้อ
มีการติดเชื้อที่ข้อทาให้มีการทาลายกระดูกอ่อนผิวข้อ
อาการและอาการแสดง
อาการปวด
สียงดังกรอบแกรบภายในข้อขณะเคลื่อนไหว
ข้อบวมโต
การรักษา
การให้ความรู้แก่ผู้ป่วย
การรักษาด้วยยา
การรักษาทางกายภาพบาบัด
การรักษาโดยการทาผ่าตัดมีหลายวิธีการเลือกใช้ขึ้นอยู่กับสภาพของโรคและระยะของโรค
กระดูกสันหลังเสื่อม (Spondylosis)
พบมากที่สุดในระดับ L4-5 และ L5-S1 ตามลำดับ
อาการและอาการแสดง
เสื่อมสมรรถภาพ
เมื่อยหลังและรู้สึกว่ากล้ามเนื้อหลังไม่มีแรงในตอนบ่ายหรือตอนเย็นหลังจากทางานมาตลอดช่วงเช้า
โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ (Rheumatoid Arthritis)
สาเหตุ
พันธุกรรม
โรคติดเชื้อบางชนิด
ฮอร์โมนเพศและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ
อาการและอาการแสดง
การเจ็บปวดข้อ
มีบวมแดงร้อนของข้อ
มีอาการฝืดตึงตอนเช้า (morning stiffness ) โดยมักเป็นนานกว่า 1 ชั่วโมง
ยาที่ใช้รักษา RA
ยาในกลุ่มนี้ได้แก่ diclofenac, ibuprofen ,D-penicillamine, azathioprine เป็นต้น
เนื้องอกกระดูก (Bone Tumour)
benign tumour ชนิดไม่ร้ายแรง เกิดขึ้นเฉพาะที่ ไม่ค่อยแพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่น โดยทั่วไปแล้วการเรียกชื่อของเนื้องอกชนิดนี้มักจะมีคาว่า - oma ต่อท้ายชื่อของเนื้อเยื่อที่เกี่ยวข้อง
malignant tumour หรือ cancer ชนิดร้ายที่สามารถแพร่กระจายไปยังอวัยวะส่วนอื่นได้ โดยผ่านทางระบบไหลเวียนโลหิต หรือระบบน้าเหลือง
สาเหตุ
ความผิดปกติของยืน
ปัจจัยด้านกายภาพ
ปัจจัยด้านกายภาพ
อาการและอาการแสดง
ปวดมากจนนอนไม่หลับ หรือนอนหลับแล้วต้องตื่นขึ้น
มาเพราะปวดมาก
คล้ำได้ก้อน
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความพิการของกระดูกและกล้ามเนื้อ
Closed amputation เป็นการตัดอวัยวะส่วนนั้นแล้วเย็บปิดปลายกระดูกด้วยกล้ามเนื้อและผิวหนังทันที แล้วใส่ท่อระบายเพื่อระบายให้เลือดและน้าเหลืองซึมออกจากแผลได้
Open amputation เป็นการตัดแนวเดียวกันทั้งผิวหนัง กล้ามเนื้อและกระดูกมักทาในผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อแล้วไม่เย็บปิดหรืออาจจะเย็บแต่เย็บอย่างหลวมๆ เมื่อรักษาแผลหายดีไม่มีการติดเชื้อจึงทาการเย็บปิดทีหลัง
หมายถึง การตัดส่วนใดส่วนหนึ่งขอแขนขาออกไปจากร่างกาย และส่วนที่เหลือจากการตัดทิ้ง เรียกว่า stump
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าและข้อตะโพกเทียม (Knee and Hip Replacement)
โรคของข้อตะโพกที่พบบ่อย
โรคหัวกระดูกตะโพกขาดเลือด (avascular necrosis)
โรคข้อตะโพกเสื่อม (hip osteoarthritis)
โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ (rheumatoid arthritis)
โรคข้อเสื่อมหลังการบาดเจ็บ (traumatic arthritis)
โรคกระดูกต้นขาส่วนคอหัก (femoral neck fracture)