Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับกระดูก ข้อ และ กล้ามเนื้อ,…
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับกระดูก ข้อ และ กล้ามเนื้อ
โรคกระดูกที่เกิดจากการติดเชื้อ (Infectious)
Osteomyelitis โรคกระดูกอักเสบติดเชื้อ คือ การอักเสบติดเชื้อที่เกิดขึ้นกับกระดูกทุกชั้น
สาเหตุแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม
เชื้อรา
ไวรัส
แบคทีเรีย
ปรสิต
เชื้อโรคสามารถเข้าสู่กระดูกได้โดย
direct spreading
indirect spreading
haematogenous spreading
แบ่งตามระยะและความรุนแรงของโรค 3 ระยะ
subacute osteomyelitis เป็นการอักเสบติดเชื่อชนิดค่อยๆ เกิด มักไม่มีอาการเจ็บป่วย ไม่พบรอยอักเสบเฉพาะที่อาจมีอาการปวดเล็กน้อย มักตรวจพบโดยบังเอิญ
การรักษาทั่วไป ให้ยาปฏิชีวนะ/ให้ส่วนที่มีพยาธิสภาพได้พัก/ทำการขูดล้างโพรงกระดูก ( Debridement )
chronic osteomyelitis หมายถึง การอักเสบติดเชื้อที่เป็นผลจากการประเมินกระดูกอักเสบติดเชื้อเฉียบพลันที่ได้รับการรักษาไม่เพียงพอ หรือมีการดำเนินของโรคที่รุนแรงต่อเนื่อง
สาเหตุ
มีการติดเชื้อในร่างกาย จากการติดเชื้อตำแหน่งอื่นลุกลามเข้าสู่กระแสเลือดและไปยังตำแหน่งของกระดูก
มีการติดเชืlอจากภายนอกร่างกาย มักพบในกรณี open fracture
มีการติดเชื้อจากภายนอกร่างกาย มักพบในกรณี open fracture
4.มีความสาเหตุจาก acute osteomyelitis ที่ไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง
อาการและอาการแสดง : ไข้/ ปวดบริเวณที่มีการอักเสบ / ผิวหนังแดง ตึง / รูหนอง (sinus tract)
การวินิจฉัย
อาการและอาการแสดง
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประวัติความเจ็บป่วย
การวินิจฉัยทางรังส
การรักษา
การทำผ่าตัดเอากระดูกที่เน่าตายออก (sequestrectomy) การทําแผล
จัดให้อยู่ที่มีการอักเสบอยู่นิ่ง ๆ
การให้ยาปฏิชีวนะทัUวไป
การปลูกกระดูก (bone graft)
การใช้ยาปฏิชีวนะเฉพาะที
acute osteomyelitis
การอักเสบติดเชื้อของกระดูกอย่างปัจจุบันหรือเฉียบพลัน แต่ที่พบบ่อยและมีความสำคัญอย่างยิ่งคือ ชนิดที่เชื้อกระจายมาตามกระแสโลหิต พบมากบริเวณกระดูกยาว (tibia femur humerus fibula)
ตำแหน่งของกระดูกที่มีการติดเชื้อมากคือ บริเวณ metaphysis
อาการและอาการแสดง
อาการทั่วไป : ไข้สูง
อาการเแพาะที่ : ปวด บวม แดง ร้อน บริเวณกระดูกที่มีการอักเสบติดเชื้อ
การวินิจฉัยโรค
การวินิจฉัยทางรังส
การตรวจทางรังสีนิวเคลียร์
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจทาง Computer tomography
การตรวจร่างกาย
การตรวจวินิจฉัยด้วยคลืUนแม่เหล็ก
ประวัติความเจ็บป่ วย
การดูดเจาะจากบริเวณที่มีพยาธิสภาพ
การรักษา
การรักษาทั่วไป : ให้ส่วนที่มีพยาธิสภาพได้พัก/ให้ยาปฎิชีวนะ/ให้ยาบรรเทาอาการปวด ลดไข้ /ให้ได้รับอาหารที่มีประโยชน์
การรักษาเฉพาะที่ : ประคบด้วยความเย็น เพื่อบรรเทาอาการปวด / ทำผ่าตัดเอาหนองออก (incision and drain)
Osteoarthritis กระดูกข้อเสื่อม
โรคข้อกระดูกเสื่อมเป็นสาเหตุของการปวดข้อและข้ออักเสบที่พบได้บ่อยที่สุด 2 ชนิดคือ
1.ข้อเสื่อมปฐมภูมิ (primary osteoarthritis) หมายถึงการเสื่อมที่เกิดขึ้นเองโดยไม่มีโรค หรือความผิดปกติของข้อนั้นมาก่อน มักพบในผู้สูงอายุ 40 -45 ปีขึ้นไป ไม่ทราบสาเหตุแน่นอน
2.ข้อเสื่อมทุติยภูมิ (primary osteoarthritis) เป็นการเสื่อมที่เกิดขึ้นโดยมีโรคหรือความผิดปกติของข้อนั้นเป็นสาเหตุนำมาก่อนเช่นการติดเชื้อหรือกระดูกหักเข้าข้อ
ข้อเขาเสื่อม (Osteoarthritis of Knee)
สาเหตุ
2.ความอ้วนทำให้ข้อ้องรับน้ำหนักมากเกินไป
การได้รับการบาดเจ็บ
อายุ อายุมากขึ้นจะเกิดความเสื่อมของกล้ามเนื้อและเอ็นที่ยึดข้อ
อาการและอาการแสดง
1.อาการปวด (pain)
2.มีเสียงดังกรอบแกรบขณะเคลื่อนไหว (crepitus)
ข้อบวมโต (joint enlargement)
4.ข้อผิดรูป (deformity)
5.ข้อติด (stiffness)
ข้อสะโพกเสื่อม ส่วนใหญ่มักเกิดตามหลังการตายของกระดูกเนื่องจากขาดเลือดมาเลี้ยง (avascular necrosis)
(Rheumatoid Arthritis) โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ เป็นโรคการอักเสบเรื้องรังข้อหลายข้อที่พบบ่อยที่สุดแต่สามารถเกิดการอักเสบขึ้นอวัยวะอื่นๆ นอกข้อได้ พบบ่อยผู้ที่มีอายุระหว่าง 30-35 ปี เพศหญิงมากกว่าเพศชาย 3 เท่า
สาเหตุ
โรคติดเชื้อบางชนิด
ฮอร์โมนเพศและสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ
พันธุกรรม
อาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยมรอาการฝืดตึงตอนเช้า โดยมักเป็นมากกว่า 1 ชั่วโมง ลักษณะของข้อในระยะแรกนั้นข้อบวมและมีน้ำหล่อเพิ่มขึ้น จ่อมาเยื่อบุข้อหนาตัวขึ้นคลำได้นิ่มๆ และกดเจ็บ ถ้าเคลื่อไหวมากจะเจ็บมาก
ระยะต่อมาจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของข้อ จากการถูกกัดกร่อนของกระดูกอ่อนและกระดูกแข็งที่อยู่ใต้กระดูกอ่อน
ระยะแรกผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บปวดข้อ และมีบวมแดงร้อนหลายข้อ
ในรายที่รุนแรง จะพบก้อนเนื้อที่ค่อนข้างแข็งในบริเวณท้ายทอยผิวหนัง บริเวณข้อศอก
มีไข้ต่ำ ๆ ในระยะที่โรคกำเริบ มีอาการอ่อนเพลีย บางครั้งน้ำหนักลด
การักษา ในระยะแรกควรให้ผู้ป่วยพักงานการใช้ข้อ มีการพักผ่อนที่เพียงพอ บริหารการออกกำลังตามความเหมาะสมเพื่อป้องกันไม่ให้ข้อติดแข็ง รักษาโดยใช้ยา เช่นยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ และยาต้านรูมาติสซั่มที่ปรับเปลี่ยนการดำเนินของโรค รักษาด้วยการผ่าตัด
Gouty Arthritis เป็นโรคข้ออักเสบเรื้อรังชนิดหนึ่ง
สาเหตุ เป็นความผิดปกติทาง metabolism ทำให้ระดับของกรดยูริคในเลือดสูง เนื่องจากร่างกายไม่สามารถขับกรดนี้ออกจากร่างกายได้
ปัจจัยทำให้เกิด
1.อาหาร ส่วนใหญ่มักจะพบในผู้ท่ชอบรับประทานอารประเภทเครื่องในสัตว์ หน่อไม้ กุ้ง หอย อาหารประเภทนี้จะมีสารพิวรีน (purine) สูง
2.ร่างกายสร้างขึ้นมาเองซึ่งเป็นผลพลอยได้จากกระบวนการสร้างสังเคาระห์โปรตีน
การรักษาโดยยาและการผ่าตัด
โรคกระดูกที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ (Noninfectious)
Bone tumor เนื้องอกกระดูก
เนื้องอก คือ กลุ่มของเซลล์กระดูกที่เจริญเติบโตมากจนผิดปกติ แบ่งได้ 2 ชนิด
malignant tumour หรือ cancer เนื้องอกชนิดร้ายแรงที่สามารถแพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่นๆได้โดยผ่านระบบไหลเวียนโลหิต
benign tumour หมายถึง เนื้องอกชนิดไม่ร้ายแรง เกิดขึ้นเฉพาะที่ ไม่ค่อยแพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่นๆ
เนื้องอกกระดูกแบ่งออกได้ 2 กลุ่ม
เนื้องอกกระดูกปฐมภูมิ (primary bone tumor) คือ เนื้องอกที่เริ่มเกิดขึ้นในกระดูกอาจเป็นได้ทั้งเนื้องอกชนิดที่ไม่ร้ายแรง หรือ เนื้องอกชนิดร้ายแรง โดยมากจะหมายถึงพวก sarcoma
อาการและอาการแสดง
คลำได้ก้อน (mass)
กระดูกหักแบบมีพยาธิสภาพ (pathologic fracture)
อาการปวด (pain)
กระดูกผิดรูป (deformity)
ตรวจพบโดยบังเอิญ (accidental finding)
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การถ่ายภาพรังสี
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจพิเศษอื่น ๆ เช่น MRI หรือ CT-scan
การตัดชิ้นเนื้อไปตรวจ (biopsy)
สาเหตุ
ปัจจัยด้านการติดเชื้อ
ปัจจัยด้านกายภาพ
ความผิดปกติของยีน
แนวทางการรักษา
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
การผ่าตัด
เนื้องอกกระดูกทุติยภูมิ (secondary bone tumor) คือ มะเร็งที่แพร่กระจายจากอวัยวะอื่นมายังกระดูก ซึ่งหมายถึงพวก carcinoma
การวินิจฉัยแบ่งได้ 2 กลุ่มตามลักษณะทางคลินิก
ผู้ป่วยที่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งของอวัยวะใดอวัยวะหนึ่งอยู่แล้ว และมาพบแพทย์ด้วยอาการปวดเพียงอย่างเดียว
2.ผู้ป่วยที่ไม่เคยมีประวัติว่าเป็นมะเร็งมาก่อน
ผู้ป่วยมักมาพบแพทย์ดhวยอาการต่าง ๆ
-อาการปวด
-มีกระดูกหักแบบไม่มีพยาธิสภาพมาก่อน
-เกอดภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาทรวดเร็ว
แนวทางการรักษา
รักษามีจุดประสงค์เพื่อบรรเทาอาการปวด และเพิ่มคุณภาพชีวิตให้แก่ผู้ป่วย
ในกรณีที>มีอาการปวดแต่ไม่มีอาการทางระบบประสาท ควรรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกับการใส่เครื่องพยุงหลัง
Amputation การถูกตัดขาด
ข้อบ่งชี้
มีการติดเชื้อที่กระดูกหรือเนื้อเยื่อรอบๆ กระดูก
เนื้องอกอาจเป็นเนื้องอกธรรมดา (benign tumor) หรือเป็นเนื้องอกชนิดร้ายแรง(malignant tumor) ของกระดูก
โรคทางหลอดเลือด (Vascular disease)
ความพิการแต่กำเนิด
อุบัติเหตุ
แบ่งตามตําแหน่งการทาผ่าตัด
ระยางค์ส่วนบน (upper extremities)
การตัดเหนือข้อศอก (above elbow amputation
หรือ B.E. amputation)
การตัดผ่านข้อของกระดูก (disarticulation amputation) มีน้อย
การตัดใต้ข้อศอก (below elbow amputation หรือ B.E.amputation)
ระยางค์ส่วนล่าง (lower extremities)
การตัดใต้ข้อเข่า (below knee amputation หรือ B.E. amputation) คือการตัดบริเวณใต้เข่าลงมาประมาณ 4-6 นิ้ว
การตัดผ่านข้อเข่า (Knee disarticulation)
Syme’s amputation ตัดที่เหนือข้อเท้าเล็กน้อยและยังคงส้นเท้าไว้
การตัดเหนือเข่า (Above Knee disarticulation หรือ A.K. amputation)
การตัดผ่านข้อสะโพก ( Hip disarticulation)
ผลกระทบต่อบุคคล
ระยะช็อคและไม่เชื่อ (Shock and disbelief)
ระยะที่ผู้ป่วยเริ่มรับรู้ต่อสิ่งที่สูญเสียไป (Developing awareness of the loss)
ระยะชดเชยหรือยอมรับการสูญเสีย (Restitution)
คําแนะนําในการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน
ดูแลรูปร่างของตอขา ให้ได้รูปทรวงกระบอก
แนะนำให้ผู้ป่วยที่ตัดขาหลีกเลี่ยงท่าที่ไมถูกต้อง
ป้องกันการติดเชื้อที่แผล
การดูแลตอแขนหรือขาเมื่อใส่แขนขาเทียม
Fracture กระดูกหัก
ภาวะที่เนื้อเยื่อกระดูกขาดความต่อเนื่องโดยทั่วไปหมายถึงการที่กระดูกแตงออกจากกัน เป็น 2 ส่วนหรือมากกว่า โดยได้รับการกระทำจากแรง
สาเหตุของการเกิดกระดูกหัก
การกระตุกหรือการหดตัวของกล้ามเนื้ออย่างแรง
(sudden muscular force)
การหักหรือหลุดของกระดูกและข้อที่มีโรคหรือพยาธิสภาพอยู่ก่อนแล้ว
(disease of bone)
แรงกระทํา (force or violence)
แรงกระทําโดยตรง (direct force)
แรงกระทําทางอ้อม (indirect force)
ชนิดของกระดูกหัก
การแบ่งตามลักษณะบาดแผล
กระดูกหักแบบปิด (closed fracture) กระดูกที่หักแล้วชิ้นที่หักอยู่ในร่างกาย ไม่มีการเกิดแผลร่มด้วย
กระดูกหักแบบเปิด (open fracture) การที่มีการหักของกระดูกแล้วมีแผลร่วมด้วย แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
1.1 มีบาดแผลแต่ไม่มีกระดูกโผล่ออกมาข้างนอกแผล (without bone perforate)
1.2 มีบาดแผลและมีชิ้นกระดูดที่หักโผล่ออกมาข้างนอกแผล (with bone perforate)
การแบ่งตามลักษณะหรือแนวการหักของกระดูก
Transverse fracture คือ กระดูกหักตามแนวขวางของกระดูกเกิดจาก direct violence
Oblique fracture คือ กระดูกหักตามแนวเฉียงของกระดูกเกิดจาก indirect violence
Greenstick fracture คือ กระดูกเดาะ หรือกระดูกมีการแตกและหัก โดยชิ้นของกระดูกที่หักนั้นยังติดกันอยู่ พบเฉพาะในผู้ป่วยเด็ก
การรักษากระดูกหัก
2.Metaphyseal fractures ต้องจัดแนวกระดูกให้ได้ลักษณะเดิม
3.Diaphyseal fractures จัดแนวกระดูกให้มีความยาวคงเดิม ไม่มีการบิดหมุนที่ผิดปกติและมีแนวข้อที่ดีไม่จำเป็นต้องจัดกระดูกทุกชิ้นให้ได้ดังรูปเดิม
1.Intra-articular fractures ต้องรักษาให้ได้ anatomical reduction และมีการขยับของข้อให้เร็ว ที่สุดป้องกันติดแข็งและข้อเสื่อมจากผิวข้อไม่เรียบ
Osteoporsis โรคกระดูกพรุน หรือโรคกระดูกโปร่งบาง
ภาววะที่เนื้อกระดูกลดลง และมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ส่งผลให้กระดูกบางลงทำให้โอกาสที่จะเกิดกระดูกหักได้ง่าย ในวัยเด็กปริมาณกระดูกจะค่อยเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เมื่ออายุประมาณ 30-35 ปี
แนวทางการรักษา
ขจัดปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้สูญเสียกล้ามเนื้อ เช่น การดื่มสุรา ดื่มกาแฟ
การรักษาด้วยยา
ยาที่มีฤทธิ์ลดการทำลายของกระดูก เช่น ฮอร์โมนเอสโตรเจน ฮอร์โมนแคลซิโตนิน แคลเซียม
ยาที่ฤทธิ์กระตุ้นการสร้างกระดูก เช่น วิตามินดีฟลูออไรด์
การออกกำลังกายซึ่งต้องมีการแบกรับน้ำหนักขณะออกกำลังกาย เช่น กาวิ่ง การเดิน
ปัจจัยเสี่ยง
กรรมพันธุ์ / เป็นโรคบางอย่าง
น้ำหนักตัว
การกินอาหารที่ไม่ถูกสัดส่วน
ผู้หญิงหลังจากหมดประจำเดือน
กระดูกที่พบบ่อย / กระดูกระยางค์