Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
บทที่ 1 มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
1.1 ประชากรและแนวโน้มผู้สูงอายุ
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างประชากร
อัตราการพึ่งพาของประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้น
อัตราการพึ่งพาของประชากรวัยเด็กลดลง
การเปลี่ยนแปลงประชากรส่งผลให้ภาระพึ่งพิงสูงขึ้น
ความหมายและประเภทของผู้อายุ
ความหมายและประเภท
ความหมาย
องค์การสหประชาชาติ
อายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป
“สังคมผู้สูงอายุ” องค์การสหประชาชาติ แบ่งเป็น3ระดับ
1.สังคมสูงอายุ (Aging Society) มีความหมายอีกอย่างหนึ่งว่าเป็น สังคมที่สูงอายุแล้ว(Aged Society)
2.สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society)
3.สังคมสูงอายุระดับสุดยอด (Super-aged Society)
ประเทศไทย
อายุเกินกว่า 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป
และมีสัญชาติไทย
องค์กรอนามัยโลก
นับจากอายุ 65 ปีขึ้นไป
ประเภท
ผู้สูงอายุติดบ้าน
ผู็สูงอายุติดเตียง
ผู้สูงอายุติดสังคม
สามารถแบ่งออกเป็น 4 ช่วง
The old-old (ช่วงแก่จริง) อายุประมาณ 80-90 ปี
ความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมยากขึ้น
เพราะสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมสาหรับคนอายุขั้นนี้
ต้องมีความเป็นส่วนตัวมากขึ้น
The very old-old (ช่วงแก่จริงๆ) อายุประมาณ 90 ปีขึ้นไป
ผู้ที่มีอายุยืนถึงขั้นนี้มีจานวนค่อนข้างน้อย
เป็นระยะที่มีปัญหาทางสุขภาพ
The middle-aged old (ช่วงแก่ปานกลาง) อายุประมาณ 70-79 ปี เป็นช่วงเริ่มเจ็บป่วยเข้าร่วมกิจกรรมของสังคมน้อยลง
The young-old (ช่วงไม่ค่อยแก่) อายุประมาณ 60-69 ปี
เป็นช่วงที่ต้องประสบกับความเปลี่ยนแปลง
ของชีวิตที่เป็นภาวะวิกฤตหลายด้าน
1.2 แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทพยาบาล
ผู้ดูแลครอบครัว สังคมต่อการดูแลผู้สูงอายุ
บทบาทพยาบาล
4.ส่งเสริมการใช้เวลาว่าง
5.ป้องกันภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังและภาวะแทรกซ้อน
3.กระตุ้นให้ช่วยตนเองในการทำกิจวัตร
6.ฟื้นฟูสภาพโดยกระตุ้นส่งเสริมให้ร่างกาย
กลับสู่สภาวะปกติให้มากที่สุด
2.ส่งเสริมการดำรงชีวิตบั้นปลายให้เป็นปกติ
7.ดำรงไว้ซึ่งการดำเนินชีวิตตามปกติแม้ยามเจ็บป่วย
1.ดำรงไว้ซึ่งสุขภาพองค์รวม
หลักสำคัญในการพยาบาลผู้สูงอายุ
ส่งเสริมการใช้เวลาว่าง
ป้องกันภาวะเจ็บป่วยเรื้อรัง และภาวะแทรกซ้อน
กระตุ้นให้ช่วยตนเองในการทำกิจวัตร
ฟื้นฟูสภาพโดยกระตุ้นส่งเสริม
ให้ร่างกายกลับสู่สภาวะปกติให้มากที่สุด
ส่งเสริมการดำรงชีวิตบั้นปลายให้เป็นปกติ
ดำรงไว้ซึ่งการดำเนินชีวิตตามปกติแม้ในยามเจ็บป่วย
ดำรงไว้ซึ่งสุขภาพองค์รวม
คุณสมบัติของพยาบาล
1.มีความรู้ด้านการพยาบาลผู้สูงอายุ/
มีประสบการณ์ในการดูแลผู้สูงอาย
2.มีความสามารถในการประเมินภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ
3.มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในการจัดโครงการและกิจกรรมต่างๆ
4.มีความสามารถในการสอนผู้สูงอายุและครอบครัว
5.มีการสังเกต สามารถแปลความผิดปกติที่เกิดขึ้น
กับผู้สูงอายุแม้เพียงเล็กน้อยได้
6.มีเจตคติที่ดีต่อผู้สูงอายุและต่อการพยาบาลผู้สูงอายุ
ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย 2542
3.ผู้สูงอายุควรได้รับโอกาสในการศึกษาเรียนรู้
และพัฒนาศักยภาพของตนอย่างต่อเนื่อง
2.ผู้สูงอายุควรได้อยู่กับครอบครัว ได้รับความเคารพรัก ความเข้าใจ ความเอื้ออาทรจากสมาชิกในครอบครัว
4.ผู้สูงอายุควรได้ถ่ายทอดความรู้ และประสบการณ์ให้สังคมมีโอกาสได้ทำงานที่เหมาะสมกับวัยตามความสมัครใจ
5.ผู้สูงอายุควรได้เรียนรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองมีหลัก ประกันและเข้าถึงบริการด้านสุขภาพอย่างครบวงจร
6.ผู้สูงอายุควรมีบทบาท และส่วนร่วมใน
กิจกรรมของครอบครัวและชุมชน
1.ผู้สูงอายุต้องได้รับปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่าและมีศักดิ์ศรี ได้รับการพิทักษ์และคุ้มครองจากการทอดทิ้ง
7.รัฐโดยความร่วมมือขององค์กรภาพเอกชนประชาชน ต้องกำหนดนโยบายและแผนหลักด้านผู้สูงอายุ และดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
รัฐโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกชน ประชาชน ต้องตรากฎหมายว่าด้วยผู้สูงอายุ เพื่อเป็นหลักประกันและบังคับใช้ในการพิทักษ์สิทธิคุ้มครองสวัสดิภาพและจัดสวัสดิการแก่ผู้สูงอายุ
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2545-2565)
เน้นการมีส่วนร่วมของสังคมตั้งแต่ครอบครัว ชุมชน ภาครัฐและเอกชน และมีการส่งเสริมให้ภาคท้องถิ่นเข้ามามส่วนร่วม รับผิดชอบดูแลการบริการด้านสังคมและจัดสวัสดิการสำหรับผู้สูงอาย
1.3 เจตคติการดูแลผู้สูงอายุ
จริยธรรมในการดูแลผู้สูงอาย
จริยธรรม (Ethics) คือ ข้อควรประพฤติปฏิบัติเกิดจาก
คุณธรรมในตัวเอง เป็นผู้มีจิตใจสะอาด บริสุทธิ์ เสียสละหรือประพฤติดีงาม
จริยธรรมคือ ความประพฤติที่ดป็นธรรมชาติ เกิดจากคุณธรรมในตนเองก่อให้เกิดความเรียบร้อยในสังคม
2.เข้าใจในการจำกัดของผู้สูงอายุ
ที่เกิดขึ้นตามวัยและประสบการณ์
3.เปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุได้มีส่วนร่วม
ในการตัดสินใจเรื่องที่เกี่ยวข้องกับตัวผู้สูงอายุ
1.ให้ความเคารพยกย่องในความมีศักดิ์ศรี
และความภาคภูมิใจของผู้สูงอายุ
4.ปฏิบัติต่อผู้สูงอายุด้วยความรู้สึกของผู้ดูแล
ที่เข้าใจและห่วงใยผู้สูงอายุ
5.มีความมั่นคงทางอารมณ์และยึดมั่นในความดี
ที่จะเกิดขึ้นจากผลของการปฏิบัติที่ดีอย่างต่อเนื่อง
เจตคติต่อการดูแลผู้สูงอาย
ให้การดูแลด้วยความรัก ความเคารพ ยกย่อง ดูแลเอาใจใส่ ยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ยอมรับข้อจ ากัด และความสามารถ ของผู้สูงอาย