Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มารดาหญิงไทยอายุ 31 ปี GA 38 wks. - Coggle Diagram
มารดาหญิงไทยอายุ 31 ปี GA 38 wks.
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลระยะที่ 1 ของการคลอด
ปัญหาที่ 3ไม่สุขสบายเนื่องจากมดลูกมีการหดรัดตัวถี่และรุนแรงขึ้น
ปัญหาที่ 1 มีโอกาสเกิดการคลอดยาวนาน เนื่องจากมารดากลัวการคลอดสูง
ปัญหาที่ 2 ทารกในครรภ์อาจเกิดภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากมดลูกหดรัดตัวถี่และรุนแรงขึ้น
ปัญหาที่ 4 เตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ระยะที่ 2 ของการคลอด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลระยะที่ 2 ของการคลอด
ปัญหาที่ 1 เสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอดในระยะที่ 2 ของการคลอด
ปัญหาที่ 2 ไม่สุขสบายเนื่องจากสูญเสียพลังงานไปกับการเบ่งคลอด
3เสี่ยงต่อภาวะพร่องO2 เนื่องจากมดลูดหดรัดตัวถี่
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลระยะที่ 3 ของการคลอด
ปัญหาที่ 1 อาจเกิดการตกเลือดในระยะที่ 3 ของการคลอด
ปัญหาที่ 2 ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผลฝีเย็บ
ปัญหาที่ 3 มีโอกาสเกิดภาวะขาดสารน้ำและอาหารในระยะหลังคลอดเนื่องจากสูญเสียน้ำและพลังงานจากการเบ่งคลอด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลระยะที่ 4 ของการคลอด
ปัญหาที่ 1 ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผลฝีเย็บ
ปัญหาที่ 2 มีโอกาสตกเลือดหลังคลอดเนื่องมีแผลบริเวณฝีเย็บ
ปัญหาที่ 3 ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกแรกเกิด
แผนการพยาบาลในทารกแรกเกิดหลังคลอดทันที
ปัญหาที่ 1 มีโอกาสเกิดภาวะอุญหภูมิร่างกายต่ำกว่าปกติเนื่องจากศูนย์ควบคุมอุณหภูมิทำงานได้ไม่สมบูรณ์
ปัญหาที่ 2 เสี่ยงต่อกาติดเชื้อในร่างกายได้ง่ายเนื่องจากระบบภูมิต้านทานโรคยังทำงานไม่สมบูรณ์
ปัญหาที่ 3 เสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย เนื่องจากปัจจัยการแข็งตัวของเลือดยังทำงานไม่สมบูรณ์
การพยาบาลมารดาและทารกหลังคลอด
ปัญหาที่ 1 ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6เดือน
ปัญหาที่ 2 ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและครอบครัว
ปัญหาที่ 3 ส่งเสริมความรู้ในการดูแลตนเแงและทารกเมื่อกลับบ้าน
CC : เจ็บหน่วงๆ ท้องแข็ง 5 ชั่วโมงก่อนใารพ. (เวลา 02:00น.)
PI : 5 ชั่วโมงก่อนมารพ. เจ็บหน่งงๆ นอนพักอาการไม่ดีขึ้น ไม่มีน้ำเดิน ท้องแข็ง LMP 3 มีนาคม 2563 EDC 10 ธันวาคม 2563
ระยะของการคลอด
(stage of labor)
ระยะที่ 1 ของการคลอด (เจ็บจริง-ปากมดลูกเปิดหมด)
ระยะที่ 2 ปากมดลูกเปิดหมด-ทารกคลอด
สาเหตุของการเจ็บครรภ์
ทฤษฎีฮอร์โมน/ทฤษฎีอื่นๆ
Oxytocin
สร้างจากมาจาก มารดาและทารกในครรภ์ ทำให้กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัว และเจ็บครรภ์คลอดขึ้น
Prostaglandin
เพิ่มขึ้นตำแหน่งที่สร้างฮอร์โมนนี้อยู่ที่เยื่อหุ้มทารก และทำให้ กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัว
Esrogen
เพิ่มขึ้นเมื่อใกล้คลอด ฮอร์โมนนี้จะเพิ่มมาก ขึ้นในกระแสเลือดทำให้ myosin ซึ่งเป็นโปรตีนหดรัดตัวในกล้ามเนื้อมดลูกเพิ่มขึ้น
Fetal cortisol
สร้างจากต่อมใต้สมองช่วยกระตุ้นต่อมหมวกไตให้หลั่งฮอร์โมน cortisol เพิ่มขึ้นทำให้เริ่มต้นการเจ็บครรภ์คลอด
ทฤษฎีการยืดขยายของมดลูก เมื่อมดลูกถูกยืดขยายถึงขีดสุดจะเกิด Depolarization กระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัวและเจ็บครรภ์คลอดข้ึน
ทฤษฎีความดัน เมื่อใกล้คลอดส่วนำจะเคลื่อนต่ำไปกระตุ้นตัวรับรู้ความดัน มดลูกส่วนล่างถูกกดจึงไปกระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหลังให้หลั่งฮอร์โมน oxytocin
ทฤษฎีอายุของรก เมื่ออายุครรภ์มากขึ้้นการไหลเวียนของเลือดที่ไปยังรก จะลดน้อยลงรกขาดเลือดไปเลี้ยงการผลิตฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจส เตอโรนลดลงด้วทำให้เริ่มเจ็บครรภ์คลอด
ระยะเจ็บครรภ์
Latent phase
เคสนี้เจ็บครรภ์จริงจนถึงปากมดลูกเปิด 1-3 cms. Eff 75% MI stat-2 ใช้เวลา 5 hr
Active phase
เคสนี้ปากมดลูกเปิด 4-7 cms. Eff 80-100% MA stat 0 ใช้เวลา 4 hr.
Transitional phase 8-10 cms. ใช้เวลา 2 hr 15min
ระยะที่ 3 ทารกคลอด-รกคลอด
ใช้เวลาทั้งหมด 12 นาที
รกคลอดเวลา 22 :11 น. น้ำหนัก 510 kg.
ทำคลอดรกโดยวิธี Controlled Cord traction โดยดึงสายสะดือเพื่อให้รกคลอดออกมา ใช้มือที่ไม่ถนัดคลึงมดลูกให้แข็ง
รกลอกตัวสมบูรณ์
Duncan's Method ลอกจากริมรกก่อน ลอกตัวช้า และมีเลือดออกมาระหว่างการลออกตัว
Cord sign ดูการเคลื่อนต่ำของสายสะดือ สายสะดือคลายเกลียวออก คลำไม่พบ pulse มีการเคลื่อนต่ำจากเดิมประมาณ 10 cms. เมื่อทดสอบใช้มือกดเหนือกระดูกหัวเหน่าสายสะดือไม่เคลื่อนตาม
Vulva sign รายนี้มีเลือดออกทางช่องคลอดประมาณ 40 cc
Uterine sign หลังคลอดมดลูกจะหดรัดตัวกลมแข็ง เปลี่ยรูปร่างจากแบนเป็นกลมเฉียงไปอยู่ด้านขวาเหนือระดับสะดือ 2 cms. โดยมองเห็นหน้าท้องเป็นสองลอน มดลูกจะอยู่สวนบนสะดือ ส่วนล่างต่ำกว่าสะดือจะเป็นรก
ระยะที่ 4 รกคลอด - 2 ชั่วโมงหลังคลอด
สอนการคลึงมดลูก สังเกตการหดรัดตัวของมดลูก
สังเกตจำนวนและลักษณะของเลือดที่ออกจากห้องคลอด
V/S ทุก 15 นาที 4 ครั้ง และทุก 30 นาที 2 ครั้ง
ปัจจัยชักนำการคลอด
(6 P)
1.Power
2.Passage
เชิงกรานของมารดา คือ Gynecoid type
มีการติดขอบของ promontary of sacrum ซึ่งเป็นจุดสำคัญของการคลอด
3.Passenger
ทารกเพศชาย น้ำหนัก 3,300 gms. คลอดเวลา 21.59 น.
ส่วนนำ คือ Vertex
Position : ORA
รกน้ำหนัก 510 gms.
Total blood loss 300 cc
4.Psychological condition
มารดาครรภ์แรก G1P0000 ไม่เคยผ่านการคลอด
ทำให้เจ็บปวดมาก มีอาการทุรนทุราย จิกกัดเท้า และกำมือแน่น
มารดาร้องไห้น้ำตาไหล บอกว่าขอผ่าได้ไหม ทนไม่ไหวแล้ว มันปวดมากๆ
5.Physical Condtion
มารดาหญิงไทยอายุ 31 ปี น้ำหนัก 67 kgs. ส่วนสูง 161 cms. BMI 25.86 kg/m2
มีสีหน้าอ่อนเพลีย เหนื่อยล้า ไม่มีโรคประจำตัว
6.Position of labor
มารดาขณะเจ็บครรภ์อยุ่ในท่านอนตะแคงสลับนอนหงายพลิกตัวไปมา
ขณะคลอดนอนในท่านอนหงายชันเข่าทั้งสองข้างขึ้น
Dx. P0000 with labor pain