Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Nursing Care in Burn Wound - Coggle Diagram
Nursing Care in Burn Wound
การควบคุมป้องกันการติดเชื้อ
เปลี่ยนรองเท้าเป็นรองเท้าภายใน
ล้างมือด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
สวมหมวก ผูกผ้าปิดปาก จมูก สวมเสื้อ
คลุมและสวมถุงมือปลอดเชื้อ
เมื่อให้การพยาบาล
ล้างมือ สวมหมวก ผูกผ้าปิดปาก จมูก สวมเสื้อคลุมและสวมถุงมือปลอดเชื้อเมื่อทำแผล และถอดหลังทำแผล
เข้มงวดป้องกันการแพร่กระจายเชื้อระหว่างเตียง ต้องทําแผลที่ไม่มีการติดเชื้อก่อน
แยกผู้ป่วยที่ติดเชื้อหรือมีแผลเปิดไว้ในห้องแยก หรือห่างจากเตียงอื่น
เปลี่ยน dressing เมื่อมี discharge ซึม
ติดตาม เฝ้าระวังการติดเชื้อ ส่งตรวจเพาะเชื้อทุกสัปดาห์หรือเมื่อมีข้อบ่งชี้
แยกอุปกรณ์ ของใช้ผู้ป่วยแต่ละราย
เช็ดทําความสะอาดอุปกรณ์อื่นๆ หลังใช้งานทุกครั้ง
เปลี่ยนขวดน้ำยาล้างมือ Hibiscrub สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
จัดให้มีน้ำยา alcohol hand rub ไว้ประจําทุกเตียง
เช็ดทําความสะอาดผ้าม่านทุกวัน และซัก ผ้าม่านทุกสัปดาห์
ทําความสะอาดอ่างอาบน้ําทุกวันและทุกครั้งก่อนหลังใช้งาน
ดูแลญาติที่เข้าเยี่ยม ให้ล้างมือก่อนและหลังเข้าเยี่ยม สวมเสื้อคลุม หมวก ผ้าปิดปาก จมูก ให้เรียบร้อย ไม่เปิดดูบาดแผลผู้ป่วยและไม่เยี่ยมผู้ป่วยรายอื่น
การดูแลบาดแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก
การดูแลบาดแผล วิธีทำความสะอาดแผล (wound cleaning)
การทําความสะอาดบาดแผลบนเตียงผู้ป่วย ในกรณีที่ผู้ป่วยอยู่ในระยะฉุกเฉิน มักทําแผลที่เตียง การลอกผ้าปิดแผลกรณีผ้าก๊อซติดแน่นกับแผล ควรใช้ 0.9 % NSS ราดก่อน
การทําความสะอาดแผลในอ่างอาบน้ํา จะทําในรายที่อาการคงที่แล้ว การแช่แผลในน้ำอุ่นช่วยให้ลอก ผ้าปิดแผลและกําจัดเนื้อตายได้ง่าย
การใช้เวชภัณฑ์ปิดแผล
การใช้ครีมยา (topical antimicrobial agent)
ครีมซิลเวอร์ ซัลฟาไดอะซิน ชนิด 1%
Kemicitine ครีม 1% chloramphenical ointment
การใช้เวชภัณฑ์ชนิดต่างๆปิดแผลมีหลายชนิดที่ใช้บ่อย
เวชภัณฑ์ที่ไม่ยึดติดกับแผล ได้แก่ แผ่นปิดแผลที่มียาปฏิชีวนะในแผ่น เหมาะกับแผลที่ไม่มีการติดเชื้อ ซึ่งไม่ต้องทำแผลบ่อย
แผ่นปิดแผลนาโนคริสตัลไลน์ ซิลเวอร์
การดูแลบาดแผลปลูกถ่ายผิวหนัง
(skin graft)
สังเกตผ้าพันแผลบริเวณที่ให้และบริเวณที่รับว่ามีเลือดซึมหรือไม่ หลังผ่าตัดควรให้ผู้ป่วยพักบนเตียง พยาบาลต้องให้การดูแลเป็นพิเศษเรื่องการขับถ่าย มีการประคบเย็น อธิบายให้ผู้ป่วยและ ญาติเข้าใจ เพื่อคลายความวิตกกังวล
การทําแผล skin graft ครั้งแรกผ้าก๊อซจะติดมาก ใช้สำลีชุบ 0.9% NSS ซับแผลให้ชุ่ม ทําความสะอาดแผล และปิดแผลด้วย แผ่นปิดแผลแบบตาข่าย ปิดทับด้วยผ้าก๊อส และพันทับด้วยผ้ายืด
การดูแล donor site ไม่ต้องเปิดทําแผล ถ้าเปื้อนมากดูแล เปลี่ยนผ้ายืดและ gauze ชั้นนอกได้
การจัดการความปวด
ประเมินความพร้อมของผู้ป่วยก่อนการทําแผล
สร้างสัมพันธภาพที่ดี
ให้ข้อมูลเตรียมความพร้อมก่อนการทําแผล เป็นข้อมูลที่ถูกต้อง
ฝึกให้ผู้ป่วยใช้เทคนิคลดปวด
เตรียมสถานที่ในการทําแผล
ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมตัดสินใจในการทําแผล
ใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลในการลด
ความเจ็บปวดจากการทำแผล
การป้องกันภาวะแทรกซ้อน แผลกดทับ แผลเป็นดึงรั้ง ข้อยึดติด และแผลเป็นนูน
ดูแลการบริหารร่างกาย ข้อต่างๆให้มี Fullrange of motion
ดูแลการจัดท่าผู้ป่วย
ดูแลแผลเฉพาะที่
การ Ambulate
ให้คําแนะนํา และดูแลให้ผู้ป่วยใส่ผ้ายืดรัดแผล (Pressure garment) เมื่อแผลหาย
การดูแลด้านจิตใจผู้ป่วยและญาติ
การสร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยและญาติ
ให้ข้อมูลการดูแล รักษา และระยะเวลาการหายของแผล โดยประมาณ
ให้โอกาสผู้ป่วยและญาติซักถาม
ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการรักษา
พูดให้กำลังใจ ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวดก่อนทำแผล
ให้ญาติได้มีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
จัดให้ผู้ป่วยได้ดูโทรทัศน์ ฟังเพลง ตามความต้องการ
จัดกิจกรรมนันทนาการให้เกิดความเพลิดเพลิน
ส่งเสริมการใช้เทคนิคผ่อนคลาย
รายที่มีความวิตกกังวลสูง ประสานกับแพทย์ในการส่งปรึกษาจิตแพทย์
เตรียมความพร้อมก่อนจําหน่ายผู้ป่วยทุกราย
ในรายที่บาดเจ็บรุนแรงหรือมีภาวะที่ไม่สามารถรักษาได้ ให้การดูแลตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย