Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Nursing Care In Burn Wound images (11) - Coggle Diagram
Nursing Care In Burn Wound
การควบคุมป้องกันการติดเชื้อ
เปลี่ยนรองเท้าเป็นรองเท้าภายในก่อนเข้าหอผู้ป่วย
ล้างมือด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อก่อนและหลังสัมผัสผู้ป่วยแต่ละราย
สวมหมวกผูกผ้าปิดปากจมูกสวมเสื้อคลุมและถุงมือสะอาดเมื่อให้การพยาบาล
ล้างมือสวมหมวกผูกผ้าปิดปากจมูกสวมเสื้อคลุมและสวมถุงมือปลอดเชื้อเมื่อทำแผล
เข้มงวดป้องกันการแพทยกระจายเชื้อระหว่างเตียงต้องทำแผลที่ไม่มีการติดเชื้อก่อน
แยกผู้ป่วยที่ติดเชื้อหรือมีแผลเปิดไว้ในห้องแยกหรือห่างจากเตียงอื่น
ติดตามเฝ้าระวังการติดเชื้อส่งผลเพาะเชื้อทุกสัปดาห์
เช็ดทำความสะอาดฝาผนังอุปกรณ์บริเวณเตียงและอุปกรณ์อื่นๆหลังใช้งานทุกครั้ง
ทำความสะอาดผ้าม่านทุกบ้านและซักผ้าม่านทุกสัปดาห์
การดูแลแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก
การดูแลบาดแผลวิธีทำความสะอาดแผล
เป็นการชำระล้างทำให้แผลสะอาดกำจัดใต้ผิวหนังที่ป่วยด้วยออกให้หมด
การทำความสะอาดบาดแผลบนเตียงผู้ป่วยในกรณีที่ผู้ป่วยอยู่ในระยะฉุกเฉิน
การทำความสะอาดแผลไม่อาบน้ำจะทำในรายที่อาการคงที่แล้ว
การใช้เวชภัณฑ์ปิดแผล
การใช้ครีมยาต่างๆที่นิยมใช้
ครีม Silver ซันฟาไดอะซินชนิด 1% ทาแผลหนาประมาณ3ถึง 5 มิลลิเมตร
การใช้เวชภัณฑ์ชนิดต่างๆปิดแผลมีหลายชนิดที่ใช้บ่อยได้แก่
วชภัณฑ์ที่ไม่ยึดติดกับแพ้ได้แก่แผ่นปิดแผลที่มียาปฏิชีวนะในแผ่นปิดแผล
แผ่นปิดแผลนาโนคริสตัลไลด์ Silver
การดูแลบาดแผลปลูกถ่ายผิวหนัง
ผ้าพันแผลบริเวณที่ให้และบริเวณที่รับว่ามีเลือดซึมหรือไม่
การทำแผล skin graft แพทย์จะเปิดแผลครั้งแรกประมาณ5วันหลังผ่าตัด
การจัดการความปวด
บาดแผลไม่ระดับสองแบบตื้นเป็นแผนที่มีความปวดมากที่สุด
ความปวดเป็นปัญหาสำคัญสำหรับผู้ป่วยไฟไหม้น้ำร้อนลวก
วิธีการบำบัดทางการพยาบาลที่ช่วยลดความปวดได้ดังนี้
ประเมินความพร้อมของผู้ป่วยก่อนการทำแผล
สร้างสัมพันธภาพที่ดีทำให้ผู้ป่วยไว้วางใจคลายความกังวล
เตรียมสถานที่ในการทำแผนอุณหภูมิพอเหมาะไม่เย็นเกินไป
ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมตัดสินใจในการทำแผนเรื่องวิธีการและเวลาภายใต้ความเหมาะสม
ใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลในการลดความเจ็บปวดจากการทำแผล
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนแผลกดทับแผลดึงรั้ง ข้อยึดติด และแผลนูน
พยาบาลมีบทบาทในการดูแลป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆดังนี้
ดูแลบริหารร่างกายข้อต่างๆ
ดูแลจัดถ้าผู้ป่วยให้ใช้อุปกรณ์ดามให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง
ดูแลแผลเฉพาะที่
บริเวณมือการทำแผลต้องแยกนิ้วมือทุกนิ้วออกจากกันโดยใช้ผ้ากอดขั้นแต่ละนิ้ว
บริเวณแขนขา จัดให้เหยียดวางบนหมอนสูง อาจใช้ slabในเวลากลางคืน
บริเวณคอ ห้ามหนุนหมอนและต้องจัดให้ขอเหยียดเพื่อป้องกันการหดหลังของแผล
บริเวณข้อเท้าจัดให้ฝ่าเท้าเหยียดตรง 90 องศาอาจใช้slabป้องกัน foot drop
บริเวณหูเป็นกระดูกอ่อนต้องระวังการอักเสบ
บริเวณข้อเท้าจัดให้ฝ่าเท้าเหยียดตรง 90 องศาอาจใช้slabป้องกัน foot drop
ให้คำแนะนำและดูแลให้ผู้ป่วยใส่ผ้ายืดรัดแผลเมื่อแผลหายเพื่อป้องกันแผลเป็นนูน
การดูแลด้านจิตใจผู้ป่วยและญาติ :<3:
การสร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยและญาติตั้งแต่แรกรับให้เกิดความไว้วางใจ
ให้ข้อมูลการดูแลรักษาและระยะเวลาการหายของแผลโดยประมาณ
ให้โอกาสผู้ป่วยและญาติซักถามและตอบข้อสงสัยประสานกับแพทย์ในการให้ข้อมูล
ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมตัดสินใจในการรักษาพยาบาลการดูแลบาดแผล
พูดคุยให้กำลังใจดูแลให้ได้รับยาแก้ปวดก่อนทำแผลและบริหารร่างกาย
จัดให้ผู้ป่วยได้ดูทีวีฟังเพลงการ์ตูนตามความต้องการของป่วย
จัดกิจกรรมนันทนาการให้เกิดความเพลิดเพลินเช่นการทำกิจกรรมบริหารร่างกายร่วมกัน
ตรียมความพร้อมก่อนจำหน่ายผู้ป่วยทุกรายและติดตามการดูแลต่อเนื่อง