Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Alcohol’s involvement in recurrent child abuse and neglect cases. …
Alcohol’s involvement in recurrent child abuse
and neglect cases.
การล่วงละเมิดและทอดทิ้งเด็กจากแอลกอฮอล์
ปัญหาสุขภาพครอบครัวที่พบบ่อยรวมถึงปัญหาการดูแลครอบครัวเสี่ยงและครอบครัววิกฤติ
ปัญหาสุขภาพครอบครัวที่พบ
ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว
เกิดการทำร้ายร่างกายลูก เนื่องจากผลของแอลกอฮอล์
ปัญหาสิ่งเสพติด
การดื่มสุราทุกวัน การติดเหล้า สุรา
ปัญหาการเลี้ยงดู
พ่อแม่ไม่มีเวลาเลี้ยงดูลูก ทอดทิ้งลูกออกไปสังสรรค์กับเพื่อนฝูง
ปัญหาสัมพันธภาพและการสื่อสาร
ขาดการสื่อสารและสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว ครอบครัวไม่เกิดสัมพันธภาพในครอบครัว
การป้องกันปัญหาสุขภาพครอบครัว
การช่วยเหลือ
ให้ผู้ปกครองมองถึงความสำคัญของอนาคตลูก
การให้การดูแลเอาใจใส่ลูก
การให้หน่วยงานเข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยเหลือดูแลบุตร
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ปกครองในการดูแลและใส่ใจในการเลี้ยงดูบุตรมากขึ้น และเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่บุตร
ภาวะวิกฤตในครอบครัว
ประเภทของภาวะวิกฤต
ภาวะวิกฤตที่เกิดตามพัฒนาการของชีวิตหรือตามวุฒิภาวะของบุคคล (Developmetal/Maturational Crisis)
สาเหตุการเกิดภาวะวิกฤต
ภาวะการเปลี่ยนแปลง (Transition Stage Origins)
การเปลี่ยนแปลงสถานภาพบทบาททางสังคม
การช่วยเหลือครอบครัวที่ประสบปัญหาโดยใช้กระบวนการพยาบาล
การสร้างสัมพันธภาพ
การประเมินครอบครัว (Assessment)
ด.ญ. น้ำตาล สีเหลือง อายุ 6 ปี อาศัยอยู่กับพ่อ และแม่เลี้ยง เนื่องจากแม่แท้ๆได้แต่งงานใหม่ มีครอบครัวใหม่ พ่อ อายุ 36 ปี แม่เลี้ยง อายุ 34 ปี พ่อและแม่ประกอบอาชีพก่อสร้าง หลังเลิกงานพ่อมักจะนั่งกินเหล้ากับเพื่อนร่วมงานและเมื่อตนเมามักจะทุบตีลูก และข่มขืนลูกเป็นบางครั้ง ส่วนแม่เลี้ยงก็จะคอยยืนดูอยู่ห่างๆ มีห้ามบ้างหากเสียงดังรบกวนเพื่อนบ้าน
จากการตรวจร่างกาย พบรอยฟกช้ำตามใบหน้า แขนและขา
จากการสังเกต มีสีหน้าเศร้ามอง พร้อมร้องไห้ขณะพูดคุย
การวินิจฉัยครอบครัว (Diagnosis)
ด.ญ.น้ำตาล ขาดการดูแลเอาใจจากผู้ปกครอง และถูกผู้ปกครองทำร้ายร่างกายและจิตใจ
การวางแผนครอบครัว (Planning)
วางแผนให้การรักษาเยียวยาจิตใจด.ญ.น้ำตาล
วางแผนให้คำแนะนำการดูแลบุตรแก่ผู้ปกครอง ญาติพี่น้อง และเพื่อนบ้าน
วางแผนให้คำแนะนำการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementetion)
การแนะนำการใช้ยาคุมฉุกเฉิน หลังจากถูกข่มขืน
แจ้งผู้ใหญ่หรือเพื่อนบ้านหากพ่อมีพฤติกรรมมึนเมา หรือทำร้ายร่างกาย
การให้การฟื้นฟูจิตใจในเบื้องต้น
พาด.ญ.น้ำตาลมาตรวจร่างกาย พร้อมตรวจหาความเสี่ยงในการติดเชื้อจากการมีเพศสัมพันธ์
การแจ้งเจ้าหน้าที่ เช่น ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน ให้เฝ้าดูแล หรือเข้ามาช่วยเหลือหากเกิดเหตุการณ์อันตราย
การประเมินผล (Evaluation)
ด.ญ.น้ำตาลมีสีหน้าสดใสมากขึ้น ไม่มีรอยฟกช้ำตามร่างกาย
พ่อของด.ญ.น้ำตาลเลิกดื่มสุรา
แม่เลี้ยงให้การเลี้ยงดู และดูแลเอาใจใส่มากขึ้น สังเกตจากแววตา สีหน้า และได้มีการช่วยสอนการบ้านด.ญ.น้ำตาล
บทบาทพยาบาลต่อการดูแลครอบครัว
เป็นผู้ให้คำปรึกษา (Counselor)
ให้ผู้ขอรับคำปรึกษามองเห็นข้อดีและข้อเสียของการตัดสินใจ
ร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
ให้กำลังใจผู้ขอรับคำปรึกษา
เป็นผู้ประสานงาน (Co-ordinator)
ช่วยติดต่อหน่วยงานต่างๆในการเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแล
เป็นที่ปรึกษา (Consultant)
รับฟังปัญหา
เข้าใจปัญหา
เป็นที่พึ่งพิงทางใจ
เป็นผู้พิทักษ์สิทธิ์ (Advocator)
ช่วยคุ้มครองสิทธิของผู้ป่วยโดยการเรียกร้องสิทธิ์ที่ผู้ป่วยควรจะได้ เช่น การเข้ารับการตรวจร่างกาย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาครอบครัว พ.ศ.2560-2564
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพของครอบครัว
ส่งเสริมให้ครอบครัวดำเนินชีวิตตามแนวทางของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้ครอบครัวมีภูมิคุ้มกัน สามารถพึ่งพาตนเองได้ภายใต้สภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
ส่งเสริมให้ครบครัวมีกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน มีสัมพันธภาพที่ดี และทำบทบาทหน้าที่ได้อย่างเหมาะสม
ส่งเสริมให้ครอบครัวดำเนินชีวิตดดยยึดมั่นในหลักคุณธรรมและจริยธรรม
อ้างอิง
Laslett, Anne-Marie Room, Robin Dietze, Paul Ferris, Jason. (2012). Alcohol’s involvement in recurrent child abuse and
neglect cases, 107(10), 1786-1793. Retrieved from
http://web.a.ebscohost.com/ehost/pdfviewer/pdfviewer?vid=7&sid=aa20e79d-984f-452b-a5e5-d9fb8481a028%40sessionmgr4008
น.ส.ญาณิศา มูลสาร เลขที่ 21 ห้อง 2A รหัส 62123301031