Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Family Violence ความรุนแรงในครอบบครัว, reference, Yuk-chung Chan.(2009).…
Family Violence ความรุนแรงในครอบบครัว
ปัญหาสุขภาพครอบครัวที่พบบ่อย
ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว
ปัญหาเศรษฐกิจ
การป้องกันปัญหาสุขภาพครอบครัว
ป้องกันไม่ให้เกิดปัญหารุนแรง
ภาวะวิกฤตในครอบครัว
ประเภทของภาวะวิกฤต
ภาวะวิกฤตที่เกิดตามพัฒนาการของชีวิต หรือตามวุฒิภาวะของบุคคล (Developmentel / Maturational Crisis)
สาเหตุการเกิดภาวะวิกฤต
ภาวะการ์ณเปลี่ยนแปลง (Transition Stage Origins) แบ่งเป็น 2 ประเภท
พัฒนาการของมนุษย์ตามช่วงวัย
การเปลี่ยนแปลงสถานภาพบทบาททางสังคม
การช่วยเหลือครอบครัวที่ประสบปัญหาโดยใช้กระบวนการพยาบาล
การสร้างสัมพันธภาพ
เข้าไปพูดคุยเพื่อให้ผู้ที่ประสบปัญหาเกิดความไว้วางใจและสามารถเล่าประสบการณ์หรือเหตุการที่ก่อให้เกิดปัญหาออกมาได้
ประเมินและวินิจฉัยครอบครัว
ประเมินสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นกับครอบครัวที่ใช้ความรุนแรงกับเด็ก เกิดจากสภาพเศรษฐกิจและสังคม ความเครียด ครอบครัวนี้เป็นครอบครัวแม่เลี้ยงเดี่ยวที่มีความยากจน แม่ไม่มีอาชีพที่แน่นอน ทำให้ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของเด็กได้ จึงตามมาด้วยการใช้ความรุนแรงในการแก้ไขปัญหา
การวินิจฉัย
ปัญหาความยากจนส่งผลทำให้เกิดความรุนแรงในครอบครัว
วางแผนการพยาบาลครอบครัว
ให้ข้อมูลข่าวสารที่ครอบครัวต้องการ คือข้อมูลการจัดหางาน การจ้างงาน
พูดคุยสร้างสัมพันธภาพให้ทราบถึงปัญหา
สนับสนุนด้านอารมณ์ รับฟังปัญหา ให้ผู้ที่ประสบปัญหาได้ระบายและเล่าเรื่องราวต่างๆออกมา พร้อมทั้งให้แนวทางการช่วยเหลือที่ครอบครัวสามารถนำไปปรับใช้ในสถานการณ์ได้
ส่งเสริม ให้ครอบครัวเกิดการสร้างอาชีพ ทำให้มีรายได้ในการใช้จ่าย
แนะนำให้ครอบครัวลดใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหา ให้สมาชิกในครอบครัวได้พูดคุยกันถึงปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นภายในครอบครัว
การปฏิบัติการพยาบาลครอบครัว
ทักทายและสร้างสัมพันธภาพ
รับฟังปัญหาและสาเหตุของการเกิดปัญหา
ให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับหารจัดหางาน การจ้างงานต่างๆ
ส่งเสริมการสร้างอาชีพ เช่นเริิ่มจากการขายของออนไลน์ หรือทำขนมขาย
แนะนำให้ครอบครัวได้พูดคุยกันให้สมาชิกทุกคนได้ทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในครอบครัว
ส่งเสริมให้ลดใช้ความรุนแรง ให้ใช้เหตุผลในการพูดคุยกันมากกว่า
การประเมินผลการพยาบาล
ครอบครัวมีงานทำมีรายได้ที่แน่นอน
ไม่ใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหา
มีเหตุผลในการพูดคุย
ยุธศาสตร์การพัฒนาครอบครัว พ.ศ. 2560-2564
ยุธศาสตร์ที่ 2 สร้างหลักประกันความมั่นคงของครอบครัว
การส่งเสริมให้มีการจัดสวัสดิการครอบครัวขั้นพื้นฐานที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความ
ต้องการของครอบครัวทุกลักษณะ
การส่งเสริมความมั่นคงด้านเศรษฐกิจของครอบครัวตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การส่งเสริมวินัยการออมในครอบครัว
การสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม มีบรรยากาศการเรียนรู้ และความปลอดภัยสำหรับ
ครอบครัว
บทบาทพยาบาลต่อการดูแลครอบครัวเสี่ยงและครอบครัววิกฤต
เป็นผู้ให้คำปรึกษา (Counselor)
เป็นผู้ประสานงาน (Coordinator)
เป็นผู้จัดการ (Case manager)
เป็นนักวิจัย (Researcher)
เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (change Agent)
เป็นผู้พิทักษ์สิทธิ (Adocator)
เป็นที่ปรึกษา (Consultant)
การพยาบาลที่เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
สร้างสัมพันธภาพกับครอบครัว พูดคุยให้ทราบถึงปัญหาที่ใช้ความรุนแรงขึ้นภายในครอบครัวพบว่าปัญหามาจากเศรษฐกิจสังคมในปัจจุบัน ส่งผลในเกิดความเครียด ประกอบกับ ลูกเกิดความต้องการด้านเศรษฐกิจมากขึ้น อยากได้โทรศัพท์ อยากมีเหมือนเพื่อนคนอื่นๆ จึงสร้างความกดดัน ต่อผู้ปกครองในครอบครัวและเมื่อตกลงปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ได้จึงเลือกที่จะใช้ความรุนแรงในการแก้ไขปัญหาให้ลูกได้จำและไม่กล้าทำผิดอีก
ให้ข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นต่อครอบครัวนี้คือ เป็นข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับจัดหางาน การจ้างงาน
สนับสนุนให้ครอบครัวเน้นการพูดคุยกันด้วยเหตุผล พูดคุยให้ลูกทราบถึงปัญหาเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในครอบครัว
ส่งเสริมการสร้างอาชีพให้ภายในครอบครัว การประหยัด อดออม เศรษฐกิจพอเพียง
reference
Yuk-chung Chan.(2009). Community Capacity Building as a Strategy of Family Violence Prevention in a Problem-Stricken Community: a Theoretical Formulation.from
http://web.b.ebscohost.com/ehost/pdfviewer/pdfviewer?vid=5&sid=7d9522a4-1815-4d24-8a76-949d9da722d4%40sessionmgr101
.