Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การศึกษาพฤติกรรมในครอบครัวที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานชนิดที่ 2,…
การศึกษาพฤติกรรมในครอบครัวที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานชนิดที่ 2
ปัญหาสุขภาพครอบครัวที่พบบ่อยรวมถึงปัญหาการดุแลครอบครัวเสี่ยงและครอบครัววิกฤติ
ปัญหาสุขภาพครอบครัวที่พบบ่อย
ปัญหาผุ้สูงอายุ โรคเบาหวานประเภท 2 เป็นภาวะเรื้อรังที่พบบ่อยในผู้สูงอายุหากไม่ได้รับการจัดการอย่างเหมาะสมอาจส่งผลได้ในภาวะแทรกซ้อนทางสุขภาพที่รุนแรงและเสียชีวิต 1 พฤติกรรมการใช้ชีวิตและการดูแลตนเองซึ่งประกอบด้วยอาหารที่มีประโยชน์และน้ำหนักตัว
การป้องกันปัญหาสุขภาพครอบครัว
การป้องกันไม่ให้เกิดปัญความรุนแรง การออกกำลังกายเป็นประจำการ จำกัดการดื่มแอลกอฮอล์ งดการสูบบุหรี่ การใช้ยาอย่างเหมาะสม การตรวจระดับน้ำตาลในเลือดทุกวัน ปรับปรุงการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและลดลงอย่างมีนัย
ภาวะวิกฤติในครอบครัว
ประเภทของภาวะวิกฤติ
วิกฤตที่เกิดตามการพัฒนาการของชีวิต มีภาวะแทรกซ้อนที่เกี่ยวข้องกับโรคเบาหวานเช่น เป็นโรคจอประสาทตา โรคไต และโรคหัวใจ กล้ามเนื้อหัวใจตายและโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย มากกว่ากลุ่มประชากรอื่น ๆ
สาเหตุการเกิดภาวะวิกฤติ
เกิดจากพฤติกรรมการกินและวัฒนธรรมการกินของครอบครัว
การช่วยเหลือโดยใช้กระบวนการพยาบาล
มีการนะนำ
(1)การตรวจระดับน้ำตาลในเลือดทุกวัน
(2) พบแพทย์ประจำปี
(3) การตรวจเท้าประจำปี
(4) การตรวจสายตาประจำปี
(5) น้ำหนักปกติ
(6) แนะนำของการออกกำลังกาย.
ยุทศาตร์การพัฒนาครอบครัว พ.ศ.2560-2564
ยุทธศาตร์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพของครอบครัว
ส่งเสริมให้ครอบครัวมีกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน มีสัมพันธภาพที่ดี และทำบทบาท หน้าที่ได้อย่างเหมาะสม
ส่งเสริมให้ครอบครัวดำเนินชีวิตโดยยึดมั่นในหลักคุณธรรมและจริยธรรม
3.ส่งเสริมให้ครอบครัวดำเนินชีวิตตามแนวทางของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้ครอบครัวมีภูมิคุ้มกัน สามารถพึ่งพาตนเองได้ภายใต้สภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
ยุทธศาตร์ที่ 3 การบริการจัดการที่เอื้อต่อความเข็มแข็งของครอบครัว
การพัฒนาศักยภาพกลไกและบุคลากรที่ทำงานด้านครอบครัว
การพัฒนากฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับ เกี่ยวกับครอบครัวให้มีความทันสมัย และเหมาะสมกับสภาวการณ์
การพัฒนาการบริหารจัดการการทำงานด้านครอบครัวอย่างเป็นระบบ
2.สร้างหลักประกันความมั่นคงของครอบครัว
การส่งเสริมให้มีการจัดสวัสดิการครอบครัวขั้นพื้นฐานที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความ ต้องการของครอบครัวทุกลักษณะ
การส่งเสริมความมั่นคงด้านเศรษฐกิจของครอบครัวตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การส่งเสริมวินัยการออมในครอบครัว
ส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายทางสังคมเพื่อ
พัฒนาครอบครัว
การสร้างและผลักดันเครือข่ายทางสังคมทุกรูปแบบ ทุกระดับ ให้มีศักยภาพในการ ขับเคลื่อนการพัฒนาครอบครัวอย่างต่อเนื่องและสร้างการมีส่วนร่วมอย่างเป็นรูปธรรม
การส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดระบบเครือข่ายครอบครัวในรูปแบบต่างๆ
บทบาทพยาบาลต่อการดูแลครอบครัวเสี่ยงและครอบครัววิกฤติ
เป็นนักวิจัย
ผลลัพธ์การควบคุมการเผาผลาญ ตัวอย่างเช่น metaanalysis จาก 50 การศึกษาพบว่ามีรายงานเพียง 16 รายการผลต่อการออกกำลังกายมีเพียง 9 รายงานผลต่อการตรวจสอบระดับน้ำตาลและมีเพียง 6 รายงานผล ดูแลเท้า 25เพื่อแก้ไขช่องว่างนี้การทดลองของเราได้เปรียบเทียบประสิทธิภาพของการแทรกแซง Family DSME กับการแทรกแซงมาตรฐาน DSME ในการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน 6 ราย
เป็นผู้พิทักษ์สิทธิ
มีส่วนร่วมในการตรวจสอบระดับน้ำตาลตั้งแต่พื้นฐานถึง 12 ตรวจพบเดือน เพิ่มความถี่ก่อนหน้านี้มีรายงานการตรวจสอบระดับน้ำตาลจากการแทรกแซงของ DSME อื่น ๆ การวิเคราะห์อภิมานดังกล่าวจากงานวิจัย 9 เรื่องที่นำเสนอผลการตรวจสอบระดับน้ำตาลรายงานว่าขนาดผลเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักจาก DSME ต่อกลูโคสการตรวจสอบมีขนาดใหญ่และเป็นบวก (d = 0.70, SE =0.18, หน้า <.01)
การพยาบาลที่เน้นครอบครัวเป็นศูณย์กลาง
1) การเคารพนับถือกันและกัน การให้เกียรติการยอมรับความสำคัญของครอบครัวที่มีต่อสมาชิก
และการยอมรับในความแตกต่างของแต่ละครอบครัว
2) การตระหนักถึงศักยภาพของครอบครัว
โดย ในการดูแลสุขภาพของสมาชิก
3)การให้ทางเลือกแก่ผู้ป่วยผู้ใช้บริการและครอบครัวในการปฏิบัติและตัดสินใจเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล
4) การให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการและครอบครัวอย่างตรงไปตรงมา ไม่ลำเอียง
นางสาวสิริรัตนื บุญสวาท ห้อง 2A เลขที่ 71 รหัสนักศึกษา 62123301140