Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Chief Reasons Domestic Violence Is Increasing สาเหตุหลักที่ทำให้ความรุนแร…
Chief Reasons Domestic Violence Is Increasing
สาเหตุหลักที่ทำให้ความรุนแรงในครอบครัวเพิ่มมากขึ้น
ปัญหาสุขภาพครอบครัวที่พบ
ปัญหาด้านเศรษฐกิจและ
ปัญหาการใช้ความรุนแรงระหว่างสามีและภรรยา
การป้องกันปัญหาสุขภาพของครอบครัว
การป้องกันก่อนเกิดปัญหา
รู้จักการเก็บเงินไว้สำรองใช้ในยามจำเป็น เพื่อที่เวลาจำเป็นต้องใช้จะได้ไม่ต้องหายืมหรือมาทะเลาะกันย้อนหลังในเรื่องของการใช้เงินฟุ่มเฟื่อย
การป้องกันไม่ให้ปัญหารุนแรง
หลีกเลี่ยงการทะเลาะเบาะแว้งมีเรื่องของสภาพเศรษฐกิจ/การเงินก่อให้เกิดความรุ่นแรงได้
การช่วยเหลือเมื่อเกิดปัญหาหรือวิกฤต
หาผู้ที่สามารถปรึกษาหรือระบายความอึดอัดภายในใจได้ออกมาอย่างเต็มที่
การห่างกันช่วงเวลาหนึ่งเพื่อให้ทั้งสองฝ่ายได้สงบอารมณ์กันก่อน แล้วเมื่อสถานการณ์ดีขึ้นให้กลับมาพูดคุยกันอย่างมีเหตุผล
ภาวะวิกฤตในครอบครัว
ประเภทของภาวะวิกฤต
ภาวะที่เกิดวิกฤติขึ้นโดยเหตุการณ์ที่ผิดปกติหรือเหตุบังเอิญ
(Situational/ Accidental Crisis)
สาเหตุของการเกิดภาวะวิกฤต
สถานการณ์ (Situational Origins) ได้แก่สภาพสังคมหรือบทบาททางสังคมเปลี่ยนแปลงไปจากเหตุการณ์การแพร่รพบาดของ Coronavirus ทำให้เกิดการตกงานและมีความเครียดตามมาเนื่องจากทุกคนยังจำเป็นที่จะต้องใช้เงินในการดูแลคนเองและครอบครัว
การช่วยเหลือครอบครัวที่ประสบปัญหาโดยใช้กระบวนการพยาบาล
การสร้างสัมพันธภาพ
โดยเริ่มจากการแนะนำตัวเพื่อเป็นการทำความรู้จักเบื้องตนและพูดคุยถึงปัญหาที่ครอบครัวได้ประสบปัญหาพบเจอ
การประเมิน
จากการประเมินจะทำให้ได้ทราบว่าครอบครัวมีปัญหาอะไร ความรุนแรงนั้นมากน้อยเพียงใด : จากการศึกษาพบว่าสามีและภรรยา เมื่อตกงานจากสถานการณ์ Coronavirus ทำให้ผูู้เป็นสามีหันมาทำร้ายร่างกายภรรยามากขึ้น เนื่องจากความเครียดทางการเงินของครอบครัว เกิดการแยกตัวออกจากกันทำให้การไปปรึกษาเพื่อนหรือคนที่ไว้ใจได้น้อยลง
การวินิจฉัยปัญหาครอบครัว
เกิดการทำร้ายคู่สมรสของตนเองเนื่องจากเกิดความเครียดจากการตกงาน
การวางแผนการพยาบาลครอบครัว
ให้คำปรึกษาในเรื่องของปัญหาการว่างงานโดยแนะนำให้ติดตามข่าวสารเพื่อจะได้รับการช่วยเหลือจากรัฐบาล
แนะนำให้ใช้เวลากับครอบครัวมากขึ้น
การปฏิบัติการพยาบาลครอบครัว
ให้การช่วยเหลือเยี่ยวยาจิตใจของครอบครัวที่ประสบปัญหา
การประเมินผลการพยาบาล
บุคคลในครอบครัวให้กำลังใจซึ่งกันและกัน ไม่กล่าวโทษฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง
บุคคลในครอบครัวไม่ทำร้ายซึ่งกันและกันทั้งคำพูดและร่างกาย
ครอบครัวสามารถร่วมกันหาทางออกสำหรับภาวะที่ประสบปัญหาได้
ยุทธศาสตร์การพัฒนาครอบครัว พ.ศ. 2560-2564
ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างหลักประกันความมั่นคงของครอบครัว
จากการศึกษาปัญหาที่พบคือ ความสัมพันธ์ระหว่างสามีและภรรยาคือ
การใช้เวลาอยู่บ้านนานเกินไป
ในช่วงของสถานการณ์การแพร่ระบาดของ Coronavirus ซึ่งทำให้กิจการหลายอย่างปิดตัวลง การอยู่บ้านเป็นเวลานานก็อาจเกิดการใช้ความรุนแรงเพิ่มขึ้น
ความเครียดทางการเินของครอบครัว
ส่งผลให้มีคนตกงานหลายล้านคนแม้ได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลแต่ก็ไม่เพียงพอต่อการใช้
แนวทางการพัฒนา
การส่งเสริมให้มีการจัดสวัสดิการครอบครัวขั้นพื้นฐานที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของครอบครัวทุกลักษณะ
การส่งเสริมความมั่นคงด้านเศรษฐกิจของครอบครัวตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การส่งเสริมวินัยการออมในครอบครัว
การสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม มีบรรยากาศการเรียนรู้และความปลอดภัยสำหรับครอบครัว
บทบาทพยาบาลต่อการดูแลครอบครัวเสี่ยงและครอบครัววิกฤติ
เป็นผู้ให้คำปรึกษา (Counselor)
ให้คำปรึกษาในเรื่องของการแก้ไขปัญหาสภาพทางการเงินในครอบครัวเป็นอันดับแรกเพื่อที่จะได้แก้ไขต้นเหตุของความรุนแรง
แนะนำให้ลงทะเบียนใช้สิทธิกรณีว่างงานจากสถานการณ์ COVID-19
เปิดโอกาสให้ครอบครัวที่ประสบปัญหากพูดคุยและระบายความรู้สึกและสถานการณ์ที่เจอ
ให้ครอบครัวคิดว่าถือว่าช่วงเวลานี้เป็นการพักผ่อนหลังจากที่ทำงานมาตลอดหลายไชปีที่ผ่านมา ให้หากิจกรรมทำร่วมกันมากกว่ามาทะเลาะใส่กันและเกิดความรุนแรง
อ้างอิง :AHC MEDIA.(2020). Chief Reasons Domestic Violence Is Increasing: Pandemic conditions contribute.
from
http://web.a.ebscohost.com/ehost/detail/detail?vid=36&sid=7d1c1a4f-a48d-4111-ac44802662a9902%40sessionmgr4008&bdata=JnNpdGU9ZWhvc3QtbGl2ZQ%3d%3d#
์
นางสาวหัทยา ชัยบุตร เลขที่ 79 ห้อง 2A รหัสนักศึกษา 62123301158