Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Family violence best practice: Engaging nurses and other healthcare…
Family violence best
practice: Engaging
nurses and other
healthcare professional
students
ปัญหาสุขภาพครอบครัวที่พบบ่อยรวมถึงการดูแลครอบครัวเสี่ยงและครอบครัววิกฤต
ปัญหาสุขภาพครอบครัว
ปัญหาความรุนแรงใครอบครัว
ความรุนแรงของคู่นอนที่ใกล้ชิดเป็นสิ่งสำคัญ ผู้มีส่วนทำให้เสียชีวิตทุพพลภาพและเจ็บป่วย สำหรับผู้หญิงที่มีอายุระหว่าง 15 ถึง 44 ปี
การป้องกันปัญหาสุขภาพครอบครัว
การป้องกันไม่ให้มีปัญหารุนแรง
สร้างบรรยากาศภายในบ้าน ให้รู้สึกอบอุ่น ปลอดภัย ปลูกฝังความเมตตากรุณาต่อกัน แก้ปัญหาต่างๆ ในครอบครัวร่วมกันด้วยความสุขุม รอบคอบ มีเหตุผล สงบสันติ ไม่ก้าวร้าวหรือใช้คำผรุสวาทด่าทอต่อว่ากัน และไม่ทำร้ายร่างกายกัน
หาโอกาสพูดคุยกันในครอบครัว ปรึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ให้กำลังใจซึ่งกันและกัน
หลีกเลี่ยงปัจจัยที่อาจทำให้เกิดความรุนแรง เช่น การดื่มสุรา เสพสิ่งเสพติด เป็นต้น
ภาวะวิกฤตในครอบครัว
ประเภทของภาวะวิกฤต
ภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้นโดยเหตุการณ์ที่ผิดปกติ หรือโดยบังเอิญ
การช่วยเหลือครอบครัวที่ประสบปัญหาโดยใช้กระบวนการพยาบาล
การสร้างสัมพัธภาพ
การวินิจฉัยปัญหาครอบครัว
การวางแผนการพยาบาลครอบครัว
การประเมินผลการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาลครอบครัว
ยุทธศาสตร์การพัฒนาครอบครัว
ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนากระบวนการสื่อสารเพื่อพัฒนาครอบครัว
ส่งเสริม และสร้างบรรยากาศภายในครอบครัวให้รู้สึกปลอดภัย
ส่งเสริมการพูดคุยกันภายในครอบครัว
บทบาทพยาบาลต่อการดูแลครอบครัวเสี่ยงและครอบครัววิกฤต
เป็นผู้ให้คำปรึกษา(Counselor)
เป็นผู้ประสานงาน( Coordinator)
เป็นผู้พิทักษ์สิทธิ์ (Advocator)
อ้างอิง: Family violence best practice: Engaging nurses and other healthcare professional students
(2019).
http://web.b.ebscohost.com/ehost/pdfviewer/pdfviewer?vid=7&sid=3621bf90-d17f-4fbd-b5f5-078e337c6d22%40sessionmgr103
นางสาวกิตติยาภรณ์ ดำชู เลขที่9 ห้อง 2A รหัสนักศึกษา 62123301012