Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Low health literacy is a health risk, อ้างอิง, Colleen Morley.(2020).Low…
Low health literacy is a health risk
การพยาบาลที่เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
การรู้หนังสือด้านสุขภาพต่ำเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยจำนวนมาก ความรู้ด้านสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญ จึงควรส่งเสริมให้บุคคลและครอบครัวมีส่วนร่วมในการส่งเสริมให้แก่บุคคลในครอบครัวตระหนักถึงการเรียนรู้เกี่ยวกับหนังสือสุขภาพให้มากขึ้น และให้ข้อมูลช่องทางในการเรียนรู้และสนับสนุนให้ครอบครัวได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง
นางสาวรัตนวรรณ จันทร์สม เลขที่56 2A 62123301111
ยุทธศาสตร์การพัฒนาครอบครัว พศ 2560-2564
ยุทธศาตร์ที 1 พัฒนาศักยภาพของครอบครัว โดยการให้บุคคลในครอบครัวเกิดความรู้ จากการเรียนรู้จากผู้ให้ความรู้และการค้นคว้าด้วยตนเอง ส่งเสริมให้ครอบครัวมีกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน มีสัมพันธภาพที่ดี
ยุทธศาสตร์ที 2 สร้างหลักประกันความมันคงของครอบครัว
การสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม มีบรรยากาศการเรียนรู้ และความปลอดภัยสำหรับ
ครอบครัว
ยุทธศาตร์ที 3 การบริหารจัดการที่เอื่อต่อความเข็มแข็งของครอบครัว
ส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการด้านครอบครัว
ยุทธศานตร์ที่ 4 ส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายทางสังคมเพือพัฒนาครอบครัว
สร้างและผลักดันเครือข่ายทางสังคมทุกรูปแบบ ทุกระดับ ให้มีศักยภาพในการ
ขับเคลื่อนการพัฒนาครอบครัวอย่างต่อเนื่องและสร้างการมีส่วนร่วมอย่างเป็นรูปธรรม
ยุทธศาตร์ที่ 5 พัฒนาระบวนการสือสารเพือพัฒนาครอบครัว
-ส่งเสริมการผลิตสื่อและช่องทางสื่อการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาครอบครัวเข้มแข็ง
-พัฒนากระบวนใช้สื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ร่วมกันของครอบครัว
ปัญหาสุขภาพครอบครัวทีพบบ่อย รวมถึงปัญหาการดูแลครอบครัวเสี่ยงและครอบครัววิกฤติ
ปัญหาสุขภาพของครอบครัวที่พบบ่อย
การรู้หนังสือด้านสุขภาพต่ำเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อบุคคลจำนวนมาก พวกเขาอาจพยายามทำความเข้าใจฉลากตามใบสั่งยาของแพทยห์รือทิศทางการใช้ยา อาจขาดความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับสภาพของตนเอง
ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ ที่ส่งผลต่อการเข้าถึงข้อมูลหากกลุ่มบุคคลมีฐานะยากจน
ปัญหาด้านการศึกษา ที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ ทำให้มีความรู้ต่ำด้านสุขภาพ
การป้องกันปัญหาสุขภาพครอบครัว
การป้องการเกิดปัญหา คือ การส่งเสริมให้บุคคลและครอบครัวได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสุขภาพที่เหมาะสม
การป้องกันไม่ให้เกิดความรุณแรง คือ เมื่อปัญหาเกิดขึ้น เราควรเข้าไปแนะนำพร้อมให้ข้อมูลที่ถูกต้องกับกลุ่มบุคคลเกี่ยวกับสุขภาพเพื่อไม่ให้เกิดความรุณแรง
การช่วยเหลือเมื่อเกิดปัญหารุณแรงหรือวิกฤติ คือ เมื่อปัญหาเกิดขึ้นและรุณแรง เราควรนำเรื่องไปเป็นแบบอย่างแก่กลุ่มบุคคล ครอบครัวและชุมชน เพื่อจะเป็นแนวที่จะสร้างความตระหนักในการที่จะตระหนักในการหาข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพ และเข้าไปช่วยเหลือคนที่ได้รับปัญหาเนื่องจากขาดความรู้ด้านสุขภาพ
ภาวะวิกฤตครอบครัว
ประเภทของวิกฤติ
เป็นประเภทที่1 ภาวะวิกฤติที่เกิดตามพัฒนาการของชีวิตหรือตามวุฒิภาวะของบุคคล (Developmental/ Maturational Crisis)
สาเหตุการเกิดภาวะวิกฤต
1.สถานการณ์ คือ อาจเกิดจากสภาพแวดล้อมและครอบครัวที่ไม่ได้ตระหนักการมีความรู้สุขภาพ การทำความเข้าใจ
2.ภาวะการณ์เปลี่ยนแปลง (Transition Stage Origins) แบ่งเปน 2 ประเภท คือ พัฒนาการของมนุษย์ตามช่วงวัย และการเปลียนแปลงสถานภาพบทบาททางสังคม
โครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรม (Cultural/ Social Structural Origins) ที่ไม่ได้ตระหนักด้านความรู้สุขภาพ
การช่วยเหลือครอบครัวที่ประสบปัญหาโดยใช้กระบวนการพยาบาล
การสร้างสัมพันธภาพ เข้าไปพูดคุยกับกลุ่มบุคคล ครอบครัว พร้อมแนะนำเรื่องประโยชน์จากการที่มีความรู้ด้านสุขภาพ
การประเมินและวินิจฉัยครอบครัว ว่าทางครอบครัวมีสภาพเป็นอย่างไร สามารถเข้าข้อมูลที่เป็นความรู้ด้านสุขภาพหรือไม่
การวินิจฉัยปัญหาครอบครัว อาจเข้าไม่ถึงข้อมูลสุขภาพ หรือปัญหาครอบครัวยากจนขาดการเรียนรู้
การวางแผนการพยาบาลครอบครัว ให้บุคคลในครอบครัวมีความรู้ด้านสุขภาพมากขึ้นจากตนเองและการมีส่วนร่วมภายในชุมชน
การปฏิบัติพยาบาลครอบครัว อาจมีการจัดห้องสมุดธรรมชาติภายในชุมชนที่มีความรู้ด้านสุขภาพ เพื่อให้บุคคลครอบครัวที่อาศัยภายในชุมชน เข้าถึงข้อมูลและสามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ด้วยตนเอง และมีกิจกรรมที่ให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการหาความรู่ร่วมกัน
การประเมินผลการพยาบาล บุคคลและครอบครัวมีความรู้ด้านสุขภาพมากขึ้น
บทบาทพยาบาลต่อการดูแลครอบครัวเสี่ยงและครอบครัววิกฤติ
เป็นผู้ให้คําปรึกษา (Counselor) เมื่อบุคคลหรือครอบครัวเกิดความสงสัย
เป็นผู้ประสานงาน (Co-ordinator) ในด้านของการจัดกิจกกรมที่จะสร้างความรู้แก่กลุ่มบุคคล ครอบครัว
เป็นผู้พิทักษ์สิทธิ (Advocator)
มีส่วนร่วมที่จะส่งเสริมให้กลุ่มบุคคล ครอบครัวที่จะได้รับข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ
อ้างอิง
Colleen Morley.(2020).Low health literacy is a health risk.
Case Management Monthly
,17(11),1-3.