Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พัฒนาการและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ - Coggle Diagram
พัฒนาการและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
กระบวนการเกิดและพัฒนาการของรก เยื่อหุ้มรก สายสะดือ และน้ำคร่ำ
❤ระยะพัฒนาการของรก
Pre-villous stage
villous stage
❤การไหลเวียนเลือดในรก
การไหลเวียนเลือดฝ่ายทารก
เลือดที่ใช้แล้วมี O2 ต่ำ เข้าสู่ umbilical arteres
เลือดที่มี O2 สูงจะถูกนำเข้าสู่ umbilical vein
การไหลเวียนเลือดฝ่ายมารดา
เลือดของมารดาที่ไหลเวียนมาเลี้ยงรกจะไหลผ่านทาง Uterine arteries
❤การแลกเัปลี่ยนสารอาหารระหว่างมารดากับทารก
การแลกเปลี่ยนของสารอาหารต่างๆผ่านทาง placenta' barrier ไปสู่ทารก
❤ รก
ลักษณะของรก
กลมแบน กว้าง 15-20 cm. หไนา 2-3 cm.
รกด้านมารดา ยึดเกาะบนผนังมดลูก มีสีแดงเข้มเหมือนเปลือกลิ้นจี่
รกด้านทารก มีสายสะดือจากการเกาะติดอยู่ มีสีเทา เรียบเป็นมัน
หน้าที่
แลกเปลี่ยนออกซิเจนและสารอาหารจากแม่มาสู่ทารก
พัฒนาการของเยื่อหุ้มทารกสายสะดือและน้ำคร่ำ
🌹สายสะดือ
เส้นเลือดแดง 2 เส้น ทำหน้าที่ นำเลือดที่มี O2 ต่ำจากตัวทารกไปที่รก
เส้นเลือดดำ 1 เส้น ทำหน้าที่ นำเลือดที่มี O2 ปริมาณมากไปเลี้ยงบรก
🌹้เยื่อหุ้มทารก
เยื่อหุ้มชั้นใน (Amnion)
เป็นเนื้อเยื่อบางๆ มีความบางใส ไม่มีเส้นเลือด ไม่มีเส้นประสาท ฉีกขาดได้ง่าย
เยื่อหุ้มชั้นนอก (Chorion)
มีลักษณะขุ่น ไม่เรียบ เปื่อยยุ่ย ฉีกขาดง่าย
🌹น้ำคร่ำ
เป็นของเหลวที่บรรจุอยู่ในถุงน้ำคร่ำ
ใส ปราศจากสี แต่จะขุ่นเล็กน้อยเมื่อใกล้ครบกำหนด
-ระยะแรกน้ำคร่ำจะถูกสร้างมาจาก Amnion
ช่วยป้องกันอันตรายจากการกระแทกภายนอก
พัฒนาการและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
😊ระยะก่อนเป็นตัวอ่อน
เริ่มตั้งแต่ปฏิสนธิจนถึงอายุครรภ์ได้ 2 สัปดาห์
😊ระยะตัวอ่อน
สัปดาห์ที่ 3-8
ตั้งครรภ์ผลตรวจ (hcg) ให้ผลบวก
primary germ layer จะพัฒนาไปเป็นอวัยวะต่างๆของบทารก
endoderm germ layer : ทางเดินอาหาร ตับ ปอด
mesoderm germ layer : หัวใจและหลอดเลือด
ectoderm germ layer : ผม เล็บ ผิวหนัง
😊ระยะทารก
-สัปดาห์ที่ 9-40 เป็นระยะพัฒนาอวัยวะต่างๆของทารกจนสมบูรณ์
แยกเพศทารกในครรภ์ได้เมื่ออายุครรภ์ 14 สัปดาห์
สรีรวิทยาของทารกในครรภ์
👍ระบบไหลเวียนโลหิต
ทำงานเป็นระบบแรกของร่างกาย
เริ่มในระยะสัปดาห์ที่ 3
👍ระบบโลหิตวิทยา
Erytropoietin จะเพิ่มขึ้นตามการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ ส่วนใหญ่สร้างจากตับ จนไตเริ่มทำงานจึงผลิตแทน
👍ระบบทางเดินปัสสาวะ
ปรากฎไตแท้ในสัปดาห์ที่ 5
สัปดาห์ที่ 8 ไตจะทำหน้าที่ได้
ไตของทารกไม่มีความสำคัญในการกรองของเสียออกจากร่างกาย เนื่องจากมีรกทำหน้าที่แทน
👍ระบบทางเดินหายใจ
ปอดของทารกยังไม่สามารถทำหน้าที่แลกเปลี่ยนออกซิเจนได้ เนื่องจากมีรกทำหน้าที่แทน
ปอดมีหน้าที่สำคัญในการเตรียมพร้อมสำหรับสร้างสารลดแรงตึงผิวปอด
L/S ratio > 2 = ปอดทำหน้าที่สมบูรณ์
👍ระบบทารงเดินอาหาร
ทารกในครรภ์สามารถกลืน มีกำารเคลื่อนไหวลำไส้เล็ก และสามารถดูดซึมกลูโคสได้ในสัปดาห์ที่ 10-12 ของการตั้งครรภ์
👍ระบบต่อมไร้ท่อ
ต่อมใต้สมอง ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ถูกพัฒนามาจาก oral ectoderm
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง พัฒนามาจาก neuroectoderm
👍ระบบประสาท
การสร้างปลอกไมอีลิน และก้านสมอง เริ่ีมต้นเมื่อทารกมีอายุประมาณ 6 สัปดาห์ แต่ส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นหลังจากทารกเกิดแล้ว
👍ระบบภูมิคุ้มกัน
immunoglobulin M ผลิตได้เล็กน้อยในทารกครรภ์ปกติ การเพิ่มเชื้อจะพบได้เฉพาะเมื่อมีการติดเชื้อในครรภ์แต่กำเนิด
👍ระบบสืบพันธ์
ต่อมเพศ เริ่มมีการพัฒนาเมื่ออายุครรภ์ประมาณ 5-6 สัปดาห์
กำรส่งเสริมพัฒนาการทารกในครรภ์
🎁การได้รับสารอาหารที่ส่งเสริมการเะจริญเติบโตของสมอง
กรดโฟลิก ลดความเสี่ยงความพิการแดต่กำเนิดของทารกในครรภ์
ธาตุเหล็กจะดูดซึมไดพ้ดีขึ้นด้วยการรับประทานผลไม้วิตามินซีสูง
ไอโอดีน
กรดไขมัน
🎁การออกกำลังกาย
🎁การจัดสิ่งแวดล้อมให้แก่ทารกในครรภ์
ด้านการมองเห็น
กระตุ้นได้ในสัปดาห์ที่ 24 ขึ้นไป โดยควรทำในความมืด ดดยการเคลื่อนที่ของไฟๆฉายจากซ้ายไปขวา หรือการเปิดปิดเป็นจังหวะ
ด้านการได้ยิน
เริ่มพัฒนาเมื่อมีอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ขึ้นไป
ใช้เสียงดนตรีเป็นตัวกระตุ้นพัฒนาการ เริ่มตั้งแต่อายุครรภ์ 24 สัปดาห์ขึ้นไป
ด้านการรับรู้ความรู้สึก
-การลูบสัมผัส
-สัมผัสด้วยน้ำอุ่นและน้ำเย็น