Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ, นางสาวชลธิชา ประวันนวล …
โนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
แนวคิดเกี่ยวกับพยาบาล ผู้ดูเเล
ครอบครัว สังคมต่อการดูเเลผู้สูงอายุ
มาตรฐานการพยาบาลผู้สูงอายุ
ริเริ่มดำเนินปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการพยาบาลสำหรับผู้สูงอายุ
มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง วิชาชีพ และสังคม
ยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรมของวิชาชีพ
สามารถปฎิบัติการพยาบาลผู้สูงอายุทั้งในภาวะปกติและเจ็บป่วยได้
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ
ฉบับที่2 (2545-2565)
เน้นการมีส่วนร่วของสังคมตั้งเเต่ครอบครัว ชุมชน ภาครัฐและเอกชน และส่งเสริมให้ภาคท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วม รับผิดชอบดูเเลการบริการด้านสังคมและจัดสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ
จริยธรรมในการดูเเลผู้สูงอายุ
ให้ความเคารพยกย่องในความมีศักดิ์ศรี
ปฎิบัติต่อผู้สูงอายุด้วยความรู็สึกของผู้ดูเเลที่เข้าใจและห่วงใย
มีความมั่นคงทางอารมณ์และยึดมั่นในความดีที่จะเกิดขึ้น
จากผลของการปฎิบัติที่ดีอย่างต่อเนื่อง
คุณสมบัติของพยาบาลผู้สูงอายุ
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในการจัดโครงการและกิจกรรม
มีความสามารถในการสอนผู้สูงอายุและครอบครัว
มีความสามารถในการประเมินภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ
มีเจตคติที่ดีต่อผู้สูงอายุและต่อการพยาบาลผู้สูงอายุ
มีความรู้ด้านการพยาบาลผู้สูงอายุ
บทบาทพยาบาลต่อการดูเเลผู้สูงอายุ
ส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ป้องกันภาวะเจ็บป่วยเรื้องรังและภาวะเเทรกซ้อน
กระตุ้นให้สามารถช่วยตนเองในการปฎิบัติกิจวัตรประจำวันได้
ดำรงชีวิตตามปกติแม้ในยามเจ็บป่วย
ส่งเสริมการดำรงไว้ซึ่งชีวิตบั้นปลายให้เป็นปกติมากที่สุด
สุขภาพดีด้านร่างกาย จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณ
เจตคติต่อการดูแลผู้สูงอายุ
ให้การดูแลด้วยความรักความเคารพยกย่องดูแลเอาใจใส่
ยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นยอมรับข้อจำกัด
และความสามารถของผู้สูงอายุ
1.ประชากรและเเนวโน้มผู้สูงอายุ
ประเภทผู้สูงอายุ
พฤฒพลัง (Active aging)
มีความสามารถในการใช้ร่างกาย สรีระวิทยา จิตใจเเละสังคม
มีชีวิตที่อิสระ มีส่วนร่วม และทำสำเร็จด้วยตนเอง
ผู้สูงอายุที่ปราศจากโรค
ผู้สูงอายุที่ประสบความสำเร็จ (Successful Aging)
ผู้สูงอายุที่ไม่สูญเสียการทำหน้าที่ทางกาย
สามารถปฎิบัติกิจกรรมพื้นฐานในการดำรงชีวิตได้ด้วยตนเอง
มีความกระตือรืนร้นในชีวต
ผู้สูงอายุที่เปราะบาง (Frail Ageing)
ผู้สูงอายุที่ไม่ได้เจ็บป่วยเเต่มีเเนวโน้มที่จะเจ็บป่วยได้ง่าย
ความหมายของผู้สูงอายุ
นิยามของผู้สูงอายุ
พรบ. ผู้สูงอายุของไทย
"อายุเกินกว่า 60 ปีบริบูรณืขึ้นไป สัญชาติไทย"
องค์การอนามัยโลก "ยังไม่มีการให้นิยาม
จัดผู้สูงอายุนับจากอายุ 65 ปีขึ้นไป"
องค์การสหประชาชาติ
" ประชากรเพศชาย-หญิงที่มี
อายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป "
แบ่งออกเป็น 4 ช่วง
The very old-old (ช่วงเเก่จริงๆ)
อายุประมาณ 90 ปีขึ้นไป เป็นระยะที่มีปัญหาสุขภาพ
The old-old (ช่วงเเก่จริง) อายุประมาณ 80-90 ปี
The middle-aged old (ช่วงเเก่ปานกลาง)
อายุประมาณ 70-79 ปี เริ่มเจ็บป่วยเข้าร่วมกิจกรรมสังคมน้อยลง
The young-old (ไม่ค่อยเเก่)
อายุประมาณ 60-69 ปี ประสบกับความเปลี่ยนแปลงของชีวิต
สังคมผู้สูงอายุของ
องค์สหประชาชาติ
เเบ่งเป็น 3 ระดับ
สังคมสูงอายุ (Aging Society) อายุ 60 ปีขึ้นไป
ทั้งเพศชาย-หญิงมากกว่า10% ของประชากรทั้งประเทศ
สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society)
อายุ 60 ปีขึ้นไป เพิ่มขึ้นเป็น 20%ของประชากรทั้งประเทศ
สังคมสูงอายุระดับสุดยอม (Super-aged Society)
อายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ28%ของประชากรทั้งประเทศ
นางสาวชลธิชา ประวันนวล
รหัสนักศึกษา62113301014