Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นวัตกรรมการยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล - Coggle…
นวัตกรรมการยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล
ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อเกษตรกรด้านการประมง
ปัญหาทางทรัพยากรมนุษย์
ปัญหาด้านทัศนคติไม่ลงรอย
ปัญหาพนักงานขาดทักษะ หรือมีทักษะต่ำกว่าที่คาดคะเนไว้
ปัญหาการคาดคะเนความต้องการด้านกำลังคน
ปัญหาทางด้านงบประมาณ
รายรับที่ได้ไม่แน่นอนที่เป็นผลสืบเนื่องมาจากปลาบางส่วนไม่ได้คุณภาพ
งบประมาณการจัดจ้างลูกจ้างบานปลายที่สืบเนื่องมาจากปัญหาการคาดคะเนความต้องการด้านกำลังคน
ปัญหาทางทรัพยากรน้ำ
ความเป็นกรด-ด่าง (pH)
ความกระด้าง (Hardness)
ออกซิเจนที่ละลายในน้ำ
(Dissolved oxygen)
แนวทางการแก้ไข
ใช้วงจรควบคุมระบบการเลี้ยงปลาอัตโนมัติและผ่านอินเตอร์เน็ต (Arduino Fan Automation) ซึ่งเป็นนวัตกรรมการควบคุมวงจรการเลี้ยงปลาที่ครอบคลุมในทุกมิติที่ส่งผลถึงประสิทธิภาพต่อการเลี้ยงปลาเพื่อการค้าแบบอัตโนมัติ
ด้านทรัพยากรมนุษย์
ลดโอกาสความผิดพลาดต่อการคาดคะเนต่อการจ้างกำลังคน เนื่องจากมีการใช้เทคโนโลยีเข้ามาทดแทนการใช้แรงงานของมนุษย์
การใช้เทคโนโลยีสามารถควบคุมการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าการใช้ทรัพยากรมนุษย์
การใช้เทคโนโลยีเข้ามาแทนที่ทรัพยากรมนุษย์ ช่วยลดความขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างและเพื่อนร่วมงาน
ด้านงบประมาณ
การใช้เทคโนโลยีสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในการจ้างแรงงานลดได้
รายรับสามารถคาดคะเนได้ค่อนข้างแน่นอน เนื่องจากมีการควบคุมปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของปลาได้อย่างเหมาะสม
ด้านทรัพยากรน้ำ
ปรับค่าออกซิเจน (dissolved oxygen) ในน้ำให้เหมาะสมตามชนิดของปลา โดยให้มีค่า BOD ปกติไม่น้อยกว่า 20 ml/L
ปรับค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ให้เหมาะสม
โดยค่าทั้งหมดนี้จะขึ้นแสดงบนหน้าจอแสดงผลบนอุปกรณ์สื่อสารของเกษตรกร ผ่านแอพลิเคชั่นแบบ real time ทั้งยังสามารถทำการปรับเพิ่มลดค่าต่างๆผ่านแอพลิเคชั่นนั้นได้ตามความต้องการ
ปรับให้น้ำมีความกระด้าง (hardness) อยู่ที่61-120มิลลิกรัมต่อลิตร เพื่อให้เหมาะสมกับการดำรงชีวิตของปลา
ประโยชน์ที่จะได้รับ
ด้านทรัพยากรน้ำ
น้ำมีคุณภาพที่ดี จึงสามารถควบคุมผลผลิตได้
ด้านงบประมาณ
สามารถลดงบประมาณในการจ้างงานและมีราบรับมาขึ้น
ด้านทรัพยากรมนุษย์
เกษตรกรสามารถควบคุมกระบวนการต่างๆให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ