Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 12 จิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 12 จิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดและทฤษฎีทางจิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและพัฒนาการ
ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาที่เกี่ยวข้อง
ความหมายของจิตวิทยา
ความสำคัญของจิตวิทยา
ประโยชน์ของจิตวิทยา
ความรู้เกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์
ความหมายของมนุษยสัมพันธ์
ความสำคัญของมนุษยสัมพันธ์
ประโยชน์ของมนุษยสัมพันธ์
จิตวิทยาเกี่ยวกับการรับรู้ และการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
แนวคิดของจิตวิทยาที่เกี่ยวกับการรับรู้
ความหมายของการรับรู้
องค์ประกอบการรับรู้
กระบวนการรับรู้
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้
แนวคิดและทฤษฎีจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้
ความหมายของการเรียนรู้
ลักษณะที่สำคัญเกี่ยวกับการเรียนรู้
องค์ประกอบการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สำคัญ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้
จิตวิทยาเกี่ยวกับแรงจูงใจ การสื่อสาร และทัศนคติที่เกี่ยวข้อง
แนวคิดและทฤษฎีจิตวิทยาที่เกี่ยวกับแรงจูงใจ
ความหมายของแรงจูงใจ และการจูงใจ
ลักษณะของแรงจูงใจ
ความสำคัญของการจูงใจ
ทฤษฎีการจูงใจที่สำคัญ
แนวคิดและทฤษฎีจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสาร
องค์ประกอบที่สำคัญของการสื่อสาร
องค์ประกอบที่สำคัญของการสื่อสาร
รูปแบบจำลองและทฤษฎีการสื่อสารที่สำคัญ
แนวคิดและทฤษฎีจิตวิทยาที่เกี่ยวกับทัศนคติ
ความหมายของทัศนคติ
องค์ประกอบของทัศนคติ
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดทัศนะคติ
การทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ
ทฤษฎีเกี่ยวกับทัศนคติ
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับมนุษยสัมพันธ์
กลุมทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฎีพุทธินิยม
ทฤษฎีมนุษยนิยม
ทฤษฎีความคาดหวัง
ทฤษฎีความเป็นธรรม
ทฤษฎีความต้องการของมนุษย์
ความต้องการทางกายภาพ
ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย
ความต้องการสังคม
ความต้องการได้รับการยกย่องสรรเสริญในสังคม
ความต้องการความสำเร็จสมหวังในชีวิต
ทฤษฎีสองปัจจัยของเฮิร์ซเบิร์ก
ปัจจัยอนามัย
ปัจจัยจูงใจ
การประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีทางจิตวิทยาและมนุษยสัมพันธ์
การประยุกต์หลักจิตวิทยา
จิตวิทยากับงานส่งเสริมการเกษตร
เป้าหมายในการใช้จิตวิทยา
เพื่อส่งเสริมบรรยากาศที่ดีระหว่างนักส่งเสริมและตัวเกษตรกร
เพื่อเป็นกำลังใจให้เกษตรกรแสดงความรู้เพิ่มมากขึ้น
เพื่อแสดงความพึงพอใจในตัวเกษตรกร
เพื่อให้การชมเชยเกษตรกร
หลักการใช้จิตวิทยา
เข้าใจการเปลี่ยนแปลงอัตมโนทัศน์
ให้ความสำคัญกับประสบการณ์ของเกษตรกร
คำนึงถึงความพร้อมที่จะเรียนรู้
ตระหนักถึงความมุ่งหมายของการเรียนรู้ของเกษตรกร
เข้าใจหลักการทำงานกับเกษตรกรเป็นรายบุคคล
เข้าใจหลักการทำงานกับเกษตรกรเป็นรายกลุ่ม
เข้าใจหลักการทำงานกับเกษตรกรแบบมวลชน
การประยุกต์จิตวิทยาที่เกี่ยวกับการรับรู้ และการเรียนรู้
การประยุกต์จิตวิทยาที่เกี่ยวกับการรับรู้
การส่งเสริมให้เกษตรกรรวมกลุ่มโดยคำนึงถึงกฎการรับรู้ของกลุ่มเกสตัลท์
การส่งเสริมความประทับใจระหว่างบุคคลตั้งแต่ครั้งแรกที่พบกัน
การผลิตและการใช้สื่อโดยคำนึงถึงคุณลักษณะของสิ่งเร้า
การดำเนินงานส่งเสริมการเกษตรโดยคำนึงถึงบุคคลเป้าหมาย
การสนับสนุนการตัดสินใจ
การประยุกต์จิตวิทยาที่เกี่ยวกับการเรียนรู้
ความพร้อมในการเรียนรู้ของผู้เรียน
ความแตกต่างระหว่างบุคคลและวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน
การมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของผู้เรียน
กรกำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ให้ชัดเจน
การจัดระบบเนื้อหาสาระและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับผู้เรียน
การกระทำและการรับรู้ผ่านประสาทสัมผัสหลายทาง
การถ่ายโอนการเรียนรู้
การประยุกต์จิตวิทยาที่เกี่ยวกับแรงจูงใจ การสื่อสาร และทัศนคติ
การประยุกต์จิตวิทยาที่เกี่ยวกับการจูงใจ
ข้อควรคำนึงถึงในการสร้างแรงจูงใจ
วิธีการสร้างแรงจูงใจ
การประยุกต์จิตวิทยาที่เกี่ยวกับการสื่อสาร
ขั้นความรู้
ขั้นการชักชวน
ขั้นการตัดสินใจ
ขั้นการนำไปปฏิบัติ
ขั้นการยืนยันการตัดสินใจ
การประยุกต์จิตวิทยาเกี่ยวกับทัศนะคติ
การเปลี่ยนทัศนคติต่อตนเอง
การสร้างและเปลี่ยนทัศนะคติที่ดี
การประยุกต์ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับมนุษยสัมพันธ์
การสร้างแรงจูงใจ
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีความคาดหวัง
ทฤษฎีความเป็นธรรม
การตอบสนองความต้องการของเกษตรกร
ทฤษฎีความต้องการความสัมฤทธิผลของแมคเคลแลนด์
ทฤษฎีความต้องการของมาสโลว์
การสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างมนุษยสัมพันธ์
ความสำคัญของการสร้างมนุษยสัมพันธ์
ช่วยให้นักส่งเสริมสามารถเข้าใจตนเองและผู้อื่น
ทำให้ได้ความร่วมมือในการทำงานจากบุคคลในหน่วยงานต่างๆ
ทำให้เกิดการพัฒนางานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประโยชน์ของการสร้างมนุษยสัมพันธ์
ทำให้ผู้อื่นมีมนุษยสัมพันธืดีสามารถเข้ากับคนอื่นได้ง่าย
เป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งที่ทำให้เกิดความสำเร็จในการทำงาน
เพื่อเชื่อมโยงให้บุคลากรทุกฝ่ายทำงานร่วมกันให้บรรลุผลสำเร็จ
ทำให้สังคมมีคุณภาพ
ขอบเขตของการสร้างมนุษยสัมพันธ์
การสร้างมนุษยสัมพันธ์ภายในองค์การ
การสร้างมนุษยสัมพันธ์ภายนอกองค์การ
การสร้างมนุษยสัมพันธ์
การมนุษยสัมพันธ์ในองค์การ
การสร้างมนุษยสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน
แนวทางในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
การสร้างมนุษญสัมพันธ์กับบุคคลภายนอกองค์การ
การสร้างมนุษยสัมพันธ์กับบุคลากรของหน่วยงานอื่น
แนวทางและข้อควรพิจารณาในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
แนวทางการสร้างมนุษยสัมพันธ์
การสนใจในตัวบุคคลอื่น
การยิ้มแย้มแจ่มใสอยู่เสมอ
การจำชื่อบุคคลต่างๆ
การเป็นผู้ฟังที่ดี
การพูดในเรื่องที่ผู้ฟังสนใจ
การรู็จักยกย่องบุคคลอื่น
การรู้จักถ่อมตน
การมีความร่วมรู้สึกหรือการเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น
การมีใจยุติธรรม
แนวทางปฏิบัติต่อผู้อื่นเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดี
การให้ความสนใจเป็นพิเศษต่อเพื่อนร่วมงานและเกษตรกร
เป็นคนมีความยิ่มแย้มแจ่มใส
แสดงการจำได้
เป็นคู่สนทนาที่ดี
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
แสดงการยอมรับนับถือผู้อื่นตามสถานภาพอาวุโส
แสดงความมีน้ำใจต่อผู้อื่น
แสดงความชื่นชมยินดี
ข้อควรพิจารณาในการเสริมสร้างมนุษยสัมพันธ์