Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เตียง 10 มภร.10/2 นศพต.พุธิตา ดวงบุญประเสริฐ เลขที่ 46 - Coggle Diagram
เตียง 10 มภร.10/2
นศพต.พุธิตา ดวงบุญประเสริฐ เลขที่ 46
ข้อมูลผู้ป่วย
การวินิจฉัย
การวินิจฉัยโรคครั้งแรก : Dx.Volume Overload (มีปริมาตรน้ำเกินในร่างกาย)
การวินิจฉัยโรคปัจจุบัน : Dx.ESRD with Volume Overload (ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ร่วมกับมีปริมาตรน้ำเกินในร่างกาย)
ข้อมูลพื้นฐาน
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 70 ปี เตียง 10 ตึก มภร 10/2
สถาภาพหม้าย เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย
ศาสนาพุทธ ระดับการศึกษา ป.4
ไม่ได้ประกอบอาชีพ
ที่อยู่ปัจจุบัน กรุงเทพมหานคร
รับไว้ในโรงพยาบาล : 10 ตุลาคม 2563
รับไว้ในความดูแล : 30 พฤศจิกายน 2563
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต :
DM โรคเบาหวาน type 2 เป็นมาประมาณ 25 ปี รักษาที่โรงพยาบาลกลาง ทานยาต่อเนื่อง
ยา Gilpzimide, Metformin, Glucobay
DLP โรคไขมันในเลือดสูง เป็นมาประมาณ 20 ปี รักษาที่โรงพยาบาลกลาง ทานยาต่อเนื่อง
ยา Supralip, Zimmex
HT โรคความดันโลหิตสูง เป็นมาประมาณ 25 ปี รักษาที่โรงพยาบาลกลาง ทานยาต่อเนื่อง
ยา Nelapine, Enalapril
CKD โรคไต stage 5 เป็นมาประมาณ 2 ปี ไม่ได้รับการรักษา เพราะผู้ป่วยไม่พร้อม
ประวัติการผ่าตัด :
ผ่าตัด Thyroid ด้านซ้าย ปี 2527
ทำ Perm Cath Rt.internal jugular vein
วันที่ 15 ตุลาคม 2563
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน :
2 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล บวมมากขึ้น เหนื่อยง่ายเวลาออกแรง Orthopnea และ PND ปัสสาวะลดลง ไม่ได้จำกัดน้ำและอาหาร ไม่มีเจ็บหน้าอกไม่มีวูบ ไม่หมดสติ ไม่ใจสั่น
13 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการอ่อนแรง ล้มก้นกระแทกพื้น เรียกเพื่อนบ้านมาช่วย เพื่อนบ้านโทรเรียกรถพยาบาลให้ พบแพทย์ที่รพ.ลาดกระบัง แพทย์ตรวจแล้วแจ้งว่าอุปกรณ์ไม่พร้อม ส่งตัวรักษาตามสิทธิที่รพ.ตำรวจ ญาติจึงพาผู้ป่วยมาER รพ.ตำรวจ
1 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล บวมมากขึ้นทั่วตัว เหนื่อยง่ายขึ้น
9 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ที่ER ผู้ป่วยตื่นดี เหนื่อยเล็กน้อย เจ็บหน้าอกและใจสั่น แพทย์ทำ EKG 12 lead พบ AF with SVR (Atrial fibrillation with slow ventricular response)
อาการสำคัญ :
อ่อนแรง ล้ม 13 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
General Appearance
3/12/63 ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 70 ปี รูปร่างท้วม ผมสีดำสลับขาว ผิวคล้ำแห้ง
ผู้ป่วยรู้สึกตัวเรียกลืมตา on NG tube ข้างขวา for feed (Glucerna 2:1 200ml x 3 feed) รับได้ on ET tube เบอร์ 7.5 marker ที่ 21 cm with ventilator P-CMV mode มุมปากข้างขวา ไม่มีหอบเหนื่อย ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ สื่อสารโดยการพยักหน้า บริเวณคอด้านขวามี Perm cath ใต้ราวนมด้านขวามี PCD บริเวณแขนขวามีรอยจ้ำเลือด มีแผลเล็กน้อย มือขวา on heparin lock มือซ้าย on O2sat มีบวมกดบุ๋มที่แขนซ้าย 3+ แขนขวา 2+ ขาทั้งสองข้าง 1+
สัญญาณชีพ อุณหภูมิร่างกาย 36.8 องศาเซลเซียส, ความดันโลหิต 110/64 mmHg, ชีพจร 68 ครั้ง/นาที, หายใจ 18 ครั้ง/นาที, O2sat 94%
อาการแรกรับ
ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี พูดคุยถามตอบรู้เรื่อง หายใจ room air ไม่มีหายใจหอบเหนื่อย ช่วยเหลือตัวเองได้บ้างบนเตียง retain foley's catheter
สัญญาณชีพ : อุณหภูมิร่างกาย 36.7 องศาเซลเซียส, ชีพจร 66 ครั้ง/นาที, หายใจ 20 ครั้ง/นาที, ความดันโลหิต 153/90 mmHg, O2sat 96%
น้ำหนัก : 95 กิโลกรัม
ส่วนสูง : 160 เซนติเมตร
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ข้อวินิจฉัย1 : ผู้ป่วยมีภาวะพร่องออกซิเจน
เนื่องจากมีน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pleural Effusion)
เกณฑ์การประเมิน
1.ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน เช่น หายใจหอบเหนื่อย cyanosis (ที่ผิว เล็บ ริมฝีปาก มีสีเขียวคล้ำ) ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตต่ำ เป็นต้น
3.ลักษณะการหายใจปกติ ไม่มีหายใจลำบาก หรือหายใจ เร็ว แรง ลึก
2.ทางเดินหายใจโล่ง ไม่มีเสมหะ
4.อัตราการหายใจปกติ หายใจตามเครื่อง (มากว่า 14 ครั้ง/นาที)
5.O2sat 90-100% (อยู่ในเกณฑ์ที่แพทย์รับได้)
7.น้ำจาก PCD ออกน้อยลง ลักษณะสีเหลืองใสปกติ ไม่มีกลิ่นเหม็น
6.ผลตรวจ AGB อยู่ในเกณฑ์ปกติ
PH 7.350-7.450,
pCO2 32.0-46.0 mmHg,
pO2 74.0-108.0 mmHg,
HCO3 21.0-29.0 mmol/L,
O2SAT 92.0-96.0 %
กิจกรรมการพยาบาล
3.ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะอัตราการหายใจ (มากกว่า 14 ครั้ง/นาที) และ O2satulation (ให้อยู่ในช่วง 90-100%) เพื่อสังเกตความรุนแรงของการพร่องออกซิเจน
1.สังเกตอาการทั่วไปและอาการผิดปกติของผู้ป่วย ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน สังเกตลักษณะการหายใจ ประเมิณอัตราการหายใจ สังเกตการหายใจที่ผิดปกติ อาการหอบเหนื่อย ซีดเขียว มีเสียงครืดคราดจากการอุดกั้นของเสมหะในลำคอ หากมีสิ่งอุดกั้นดูแล suction ที่ปากและET-tube อย่างถูกวิธี
2.ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง จัดท่านอนศีรษะสูง 30-45 องศา เพื่อให้กระบังลมหย่อนลง ปอดขยายตัวได้เต็มที่ เพิ่มพื้นที่การแลกเปลี่ยนแก๊ส เพื่อให้หายใจสะดวก ทางเดินหายใจโล่ง
5.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา คือ on ET tube เบอร์7.5 #21 PS mode ดูแลตำแหน่ง ET tube ป้องกันไม่ให้เลื่อนหลุด เพื่อให้ได้รับออกซิเจนเพียงพอ เปลี่ยนตำแหน่งและผ้าผูก tube เพื่อลดการกดและความสะอาด
9.ติดตามผล ABG
7.ดูแลบริเวณแผล PCD โดยการทำแผลทุกวันตามแผนการรักษา โดยใช้หลัก sterile technique รวมทั้งประเมิน ปริมาณ ลักษณะ อาการbleeding ของแผล
4.ฟังเสียงปอดผู้ป่วย เพื่อประเมินของเหลวที่คั่งในเยื่อหุ้มปอด
8.ดูแลสิ่งแวดล้อมให้สะอาด จัดสิ่งแวดล้อมให้เป็นระเบียบเรียบร้อย เพื่อความสะอาดและส่งเสริมการพักผ่อนของผู้ป่วย
6.ดูแลการทำงานของสายระบายทรวงอก เป็น closed system โดยไม่ให้สายหัก พับงอ เลื่อนหลุดจากตำแหน่งของสาย ดูแลให้ถุงอยู่ต่ำกว่าป้องกันการไหลย้อนกลับ เพื่อการป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการใส่สายระบายทรวงอก พร้อมทั้งประเมินของเหลวที่ออกจากทางสายระบายทรวงอก สังเกตลักษณะ สี กลิ่น ปริมาณ
วัตถุประสงค์
ป้องกันการเกิดอันตรายจาก
เนื้อเยื่อร่างกายขาดออกซิเจน
การประเมินผล
ผู้ป่วย on ET tube เบอร์7.5 #21 PS mode หายใจตามเครื่องได้ปกติ ไม่มีภาวะ cyanosis เสมหะเหนียวข้น มีเลือดปน มีกลิ่น
อัตรการหายใจอยู่ที่ 18-20 ครั้ง/นาที O2sat อยู่ในช่วง 90-96%
ผลการตรวจ ABG (02/12/63) : PH 7.436, pCO2 40.5 mmHg, pO2 170.8 mmHg, HCO3 26.8 mmol/L,O2sat 99.4%
การทำงานของ PCD มีการระบาย อย่างมีประสิทธิภาพ คือ สายไม่อุดตัน ไม่หัก ไม่พับงอ ไม่เลื่อนหลุด อยู่ต่ำกว่าระดับทรวงอก และอยู่ในระบบ close system ไม่มีของเหลวออกมาจากสายระบาย
ข้อมูลสนับสนุน
ผลการตรวจ ABG (30/11/63) :
PH 7.383,
pCO2 47.7 mmHg,
pO2 101.6 mmHg,
HCO3 27.8 mmol/L,
O2sat 97.5%
ผู้ป่วยโรคไตอยู่ในภาวะซีด
Hb 8.8 g/dL ต่ำกว่าปกติ
Hct 27.8 % ต่ำกว่าปกติ
RBC 3.38 10^6/uL ต่ำกว่าปกติ (ผล 30/11/63)
ผู้ป่วยเป็นโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (ESRD)
ผู้ป่วยมีเสมหะเหนียวข้นปนเลือด
ผู้ป่วย O2satulation drop เหลือ 80-89 ในบางช่วงเวลา ที่อยู่ภายใต้การดูแล
ผล ultrasound พบมีน้ำในปอด (02/12/63)
ทำ PCD มีน้ำระบายออกจากปอด สีเหลืองใส ปริมาณทั้งวันรวม 700 ml (03/12/63)
ข้อวินิจฉัย3 : ผู้ป่วยมีภาวะของเสียคั่งในร่างกาย เนื่องจากไตสูญเสียหน้าที่ในการทำงาน
กิจกรรมการพยาบาล
1.สังเกตอาการผู้ป่วยจากการมีของเสียคั่งในร่างกาย ได้แก่ ความรู้สึกตัว อาการอ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน กระสับกระส่าย สับสน ปวดศีรษะ กล้ามเนื้อกระตุก ชักหมดสติ
3.ประเมินและบันทึกอาการบวม เพื่อประเมินการคั่งของของเสียในร่างกาย
5.ดูแลให้ผู้ป่วยให้ได้รับการทำ Hemodialysis ตามแผนการรักษาของแพทย์ คือวันจันทร์-พฤหัส เพื่อลดการคั่งของของเสียในร่างกาย
การพยาบาลก่อนไปทำ : Hemodialysis
ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพ
ประเมินภาวะสุขภาพทั่วไป ภาวะน้ำเกินในร่างกาย อาการผิดปกติ ได้แก่ ความรู้สึกตัว อาการหายใจลำบาก อาการบวม อาการเจ็บแน่นหน้าอก อาการคัน คลื่นไส้อาเจียน
ประเมินปริมาณและสมดุลของสารน้ำที่ผู้ป่วยได้รับและขับออกในแต่ละวัน
งดให้ยาความดันโลหิต คือ Madiplot 20 mg.tab และยา Cazosin 2 mg.tab ในวันที่ทำการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
การพยาบาลหลังไปทำ : hemodialysis เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายจากการเสียสมดุลของร่างกายหลังจากฟอกเลือด (dialysis disequilibrium syndrome)
ประเมินสภาพผู้ป่วยและอาการผิดปกติภายหลังการฟอกเลือด เช่น ตะคริว ปากแห้ง คลื่นไส้อาเจียน ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว กล้ามเนื้อกระตุก สั่น กระสับกระส่าย สมองบวม
ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพ หลังจากกลับจาก hemodialysis เพื่อประเมินความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้น
ตรวจร่างกาย ประเมินความผิดปกติ ได้แก่ ความรู้สึกตัว อาการหายใจลำบาก อาการบวม อาการเจ็บแน่นหน้าอก อาการคัน คลื่นไส้อาเจียน
2.บันทึก I/O ประเมินน้ำเข้า-ออกร่างกาย
4.จำกัดน้ำดื่ม น้อยกว่าหรือเท่ากับ 800 ml/วัน ตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา Sodium bucarbonate 300 mg.tab. เพื่อรักษาภาวะเลือดเป็นกรด ปรับสมดุลกรดเบสในร่างกายเนื่องจากผู้ป่วยเป็นโรคไต
8.ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ เช่น BUN, Creatinine, eGFR เพื่อประเมินประสิทธิภาพการทำงานของไต
6.ติดตามผลการตรวจ Electrolyte ในเลือด
ภาวะโซเดี่ยมต่ำ ที่จะส่งผลให้ความดันโลหิตต่ำ ชีพจรเร็ว เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน มีภาวะน้ำเกิน
เกณฑ์การประเมิน
1.รู้สึตัวดี ไม่มีอาการอ่อนเพลีย ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน กระสับกระส่าย สับสน ปวดศีรษะ กล้ามเนื้อกระตุก ชักหมดสติ
2.ระดับ pitting edema ลดลง
3.ค่า BUN, eGFR, Creatinine และ Albumin
อยู่ในเกณฑ์ที่แพทย์รับได้
วัตถุประสงค์
เพื่อลดอันตรายจากของเสียคั่งในร่างกาย ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
การประเมินผล
ผลเคมีคลินิก (02/11/63) :
BUN = 40.4 mg/dL สูงกว่าปกติ
eGFR = 13.46 ml/min/1.73m2 ต่ำกว่าปกติ
Creatinine = 3.29 mg/dL สูงกว่าปกติ
Albumin 2.4 g/dL ต่ำกว่าปกติ
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลีย
มีบวมกดบุ๋ม แขนซ้าย +3 แขนขวา +2
ขา ทั้งสองข้าง +2
ผลเคมีคลินิก (30/11/63) :
BUN = 47.9 mg/dL สูงกว่าปกติ
eGFR = 12.32 ml/min/1.73m2 ต่ำกว่าปกติ
Creatinine = 3.54 mg/dL สูงกว่าปกติ
Albumin 2.9 g/dL ต่ำกว่าปกติ
I/O positive
ผู้ป่วย Dx. ESRD with Volume Overload
ข้อวินิจฉัย4: ผู้ป่วยมีแผลกดทับที่ก้นกบ เนื่องจากผู้ป่วยช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
เกณฑ์การประเมิน
1.แผลกดทับลดลง หายเร็ว ผู้ป่วยไม่เกิดแผลกดทับใหม่เพิ่ม
2.ผิวหนังเรียบตึง ชุ่มชื้น มีความยืดหยุ่น ไม่มีรอยแดง ไม่เกิดการฉีกขาดของผิวหนัง
3.Braden score 19-20
(ไม่มีความเสี่ยงในการเกิดแผลกดทับ)
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ (Braden score) อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
2.ประเมินผิวหนังโดยเฉพาะบริเวณปุ่มกระดูกต่างๆ สิ่งผิดปกติ ลักษณะความชุ่มชื้น
4.ดูแลให้ผิวหนังมีความชุ่มชื้นโดยใช้โลชั่นทาผิว เพื่อลดความเสี่ยงการเกิดแผลกดทับบริเวณอื่นๆ เช่น บริเวณปุ่มกระดูกที่รองรับน้ำหนัก
5.พลิกตะแคงตัว ทุก 2 ชั่วโมง โดยจัดให้ผู้ป่วยนอนหงายและพลิกตะแคงสลับกัน ไม่นอนทับปุ่มกระดูกโดยตรง
3.ดูแลทำความสะอาดผิวหนังเป็นประจำทุกวัน และทุกครั้งหลังขับถ่าย หลังการทำความสะอาดควรซับผิวหนังให้แห้ง
6.ดูแลผ้าปูที่นอน ให้สะอาด แห้ง ควรปูให้เรียบตึง ไม่มีรอยพับย่น
วัตถุประสงค์
เพื่อดูแลแผลกดทับให้ดีขึ้น และไม่เกิดแผลกดทับขึ้นใหม่ จากการเคลื่อนไหวร่างกายได้น้อย
ญาติผู้ป่วยรู้วิธีการดูแลและป้องกันการเกิดแผลกดทับได้
การประเมินผล
ผู้ป่วยมีรอยแดง เป็นแผลกดทับ stage 1 ที่บริเวณก้นกบ ผิวหนังมีลักษณะค่อนข้างแห้ง ไม่พบการฉีกขาดจากแรงกดทับของผิวหนังบริเวณอื่น ประเมิน Braden score = 11 (มีความเสี่ยงสูงในการเกิดแผลกดทับ)
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียงช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
ผู้ป่วยมีแผลกดทับ stage 1 มีรอยแดงที่บริเวณก้นกบ
ข้อวินิจฉัย6 : ผู้ป่วยและญาติมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการรักษา
การประเมินผล
ผู้ป่วยมีสีหน้าดีขึ้น ให้ความร่วมมือในการพยาบาล ไม่หันหน้าหนี ไม่ดิ้น ญาติมีสีหน้าดีขึ้น สอบถาม รับฟังและเข้าใจเหตุผลในการให้การพยาบาลดี
กิจกรรมการพยาบาล
3.อธิบายขั้นตอนการพยาบาล เหตุผลทางการพยาบาล ทุกครั้งที่จะทำการพยาบาลผู้ป่วย
1.อธิบายให้ผู้ป่วยทราบเกี่ยวกับแผนการรักษาของแพทย์ เหตุผลในการใส่เครื่องช่วยหายใจ
2.เปิดโอกาสให้ญาติได้ระบายความคับข้องใจ และสามารถสอบถามปัญหาต่างๆได้ตามความต้องการ เพื่อความเข้าใจและความสบายใจของญาติและผู้ป่วย
4.ให้ความสนใจดูแลและเอาใจใส่สม่ำเสมอ ทำการพยาบาลด้วยความอ่อนโยน นุ่มนวล เพื่อให้ญาติและผู้ป่วยยอมรับ
5.ให้คำแนะนำญาติในเรื่องการดำเนินของโรคการดูแลสนใจ เอาใจใส่ หมั่นมาเยี่ยมสม่ำเสมอเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกอบอุ่นและไม่ถูกทอดทิ้ง
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยและญาติคลายความวิตกกังวลและให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาลอย่างเต็มที่
ข้อมูลสนับสนุน
ญาติมีสีหน้ากังวล ถามเรื่องอาการของผู้ป่วย
ผู้ป่วยมีสีหน้ากังวล ขณะให้การพยาบาล
วัตถุประสงค์
ลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ
ข้อวินิจฉัย5 : ความทนต่อกิจกรรมลดลงจากภาวะซีด เนื่องจากไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง (ซึ่งเป็นผลจากฮอร์โมนอิริโธรปอยอิตินลดลง)
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยทนต่อการทํากิจกรรมได้มากขึ้น
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยมีสีหน้าอ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายขณะทำกิจกรรมการพยาบาล
ผู้ป่วยมีภาวะซีด
Hb 9.3 g/dL ต่ำกว่าปกติ
Hct 29.3 % ต่ำกว่าปกติ
RBC 3.54 10^6/uL ต่ำกว่าปกติ
(ผล 02/12/63)
เกณฑ์การประเมิน
1.ผู้ป่วยไม่มีอาการแสดงถึงการเหนื่อย ไม่มีหายใจเหนื่อยหอบ ไม่มีหายใจลำบาก หรือหายใจเร็ว แรง ลึก
2.อัตราการหายใจปกติ (12-22 ครั้ง/นาที)
3.O2satulation มากกว่าหรือเท่ากับ 90% (ตามแพทย์รับได้)
กิจกรรมการพยาบาล
2.ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะอัตราการหายใจ (ปกติ 12-22 ครั้ง/นาที) และ O2satulation ให้อยู่ในช่วง 90-100% (ตามที่แพทย์รับได้)
1.สังเกตอาการหายใจหอบเหนื่อย อาการอ่อนเพลียประเมินภาวะขาดออกซิเจน ขณะให้การพยาบาล
3.ดูแลผู้ป่วยในการทำกิจวัตรประจำวัน
4.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
5.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาบำรุงโลหิตตามแผนการรักษาของแพทย์ คือ Folic acid 5 mg 1 เม็ด 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า และยา Fermasian 200 mg. 1 เม็ด 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น
6.ติดตามผล CBC โดยเฉพาะ Hemoglobin, Hematocrit,RBC เพื่อประเมินภาวะซีด
ประเมินผล
ผู้ป่วย
ข้อวินิจฉัย2 : ผู้ป่วยมีภาวะติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ
เกณฑ์การประเมิน
3.ผู้ป่วยไม่มีอาการผิดปกติ เช่น กระสับกระส่าย หนาว มือเท้าเย็น ความดันต่ำ ชีพจรเร็ว หายใจเร็ว คลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย
4.ผล CBC อยู่ในเกณฑ์ปกติ โดยเฉพาะ
WBC 4.24-10.18 103/uL
Neutrophil 48.1-71.2%
Lymphocyte 21.1-42.7%
1.สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
อุณหภูมิร่างกาย 36.5-37.4 องศาเซลเซียส
ชีพจร = 60-100 ครั้ง/นาที
ความดันโลหิต 90-140/60-80 mmHg
อัตราการหายใจ 12-22 ครั้ง/นาที
O2satulation 90-100% (ในเกณฑ์ที่แพทย์รับได้)
2.เสมหะลดลง ไม่เหนียวข้น ไม่มีกลิ่นเหม็น
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินสัญญาณชีพพร้อมทั้ง O2satulation ทุก 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะ อุณหภูมิร่างกาย และชีพจร เพื่อดูการคำเนินของไข้และเฝ้าระวังภาวะช็อกจากไข้สูง
2.ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาลทุกครั้ง ทำการพยาบาลด้วยเทคนิคปลอดเชื้อ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
3.ดูแลความสะอาดร่างกาย ดูแลความสะอาดปากและฟันของผู้ป่วย ป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ
ดูแลผู้ป่วย on tube เบอร์ 7.5 #21 PS mode ดูดเสมหะในปากและใน tube เพื่อเคลียร์ทางเดินหายใจ suction ให้ถูกวิธี
5.ดูแล tube ให้สะอาด ไม่มีเสมหะอุดกั้น ถูกตำแหน่ง ป้องกันการเคลื่อนหลุดของ tube ไม่ให้เกิดการ trauma เพิ่ม เปลี่ยนผ้าผูก tube เพื่อความสะอาด
6.หากผู้ป่วยมีไข้ 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป ให้ทำการเช็ดตัวลดไข้ โดยวิธีที่ถูกต้อง ดังนี้ เช็ดตัวฌโดยใช้น้ำธรรมดา เช็ดนาน 15- 30 นาที ใช้ผ้าถูตัววางบริวณชอกคอ รักแร้ ข้อพับ หน้าอก หลังเช็ดตัวแล้ว 30 นาที วัดอุณหภูมิใหม่และบันทึกในฟอร์มปรอท เพื่อติดตามผลการพยาบาล
7.ดูแลให้ได้รับยาลดไข้ พาราเชตามอล 500 mg tab 1 เม็ด และยาฆ่าเชื้อ Tazocin 2.25 gm + NSS 50 ml IV q 8 hr ตามแผนการรักษา ติดตามผลข้างเคียงของยาฆ่าเชื้อ ได้แก่ ปวดศีรษะ นอนไม่หลับ เยื่อบุช่องปากอักเสบ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก อาหารไม่ย่อย ปวดท้อง ความดันเลือดต่ำ ปวดบวม หลอดเลือดดำอักเสบบริเวณที่ฉีดยา ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ
8.ดูแลความสะอาดสิ่งแวดล้อม และจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม เงียบสงบ อากาศถ่ายเทสะดวก ส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
9.ติดตามผล hemoculture CBC
วัตถุประสงค์
ดูแลรักษาภาวะติดเชื้อ ลดอันตรายจากการติดเชื้อ
การประเมินผล
ผู้ป่วยไม่มีอาการแสดงที่ผิดปกติ อุณหภูมิร่างกาย 37.6 องซาเซลเซียส, ชีพจร 60 ครั้ง/นาที, ความดันโลหิต 103/48 mmHg, อัตราการหายใจ 20 ครั้ง/นาที, O2satulation 94% เสมหะลดลง ลักษณะเหนียวข้น ปนเลือด ปริมาณเล็กน้อย
ผล CBC
WBC 10.70 103/uL
Neutrophil 83.5%
Lymphocyte 6.3%
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยมีเสมหะเหนียวข้น ปนเลือด มีกลิ่นเหม็น
ตรวจ Gram's stain จาก sputum (suction) 01/12/63 ผล Gram Negative Bacilli
ผู้ป่วยมีไข้สูง อุณหภูมิร่างกาย 38.5 องศาเซลเซียส (14.00น. 02/12/63)
Sputum Culture (01/12/63) พบเชื้อ Klebsiella pneumoniae
ยาและสารน้ำที่ผู้ป่วยได้รับ
GPO MOX 500 MG.CAP.
amoxicillin 500 mg.cap.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง
หลังอาหารเย็น
ข้อบ่งใช้ :check: จัดอยู่ในยาปฏิชีวนะกลุ่มเพนิซิลลิน (Penicillins) ซึ่งจะใช้ในการรักษาโรคที่มีสาเหตุการติดเชื้อมาจากแบคทีเรีย เช่น การติดเชื้อเกี่ยวกับทางเดินหายใจ ทางเดินปัสสาวะ หู คอ จมูก และผิวหนัง
ผลข้างเคียง :red_cross: คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ท้องร่วง ท้องเดิน ปวดศรีษะ ผื่นคัน ลมพิษ
CLARITHROMYCIN 500 MG.TAB.(CLACINA) (GPO)
clarithromycin 500 mg.tab.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง
หลังอาหารเย็น
ข้อบ่งใช้ :check: เป็นยาปฏิชีวนะในกลุ่มแมคโครไลด์ มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตหรือการแบ่งตัวของเชื้อแบคทีเรีย ใช้ป้องกันหรือรักษาการติดเชื้อจากแบคทีเรียชนิดต่าง ๆ ในร่างกาย ทั้งบริเวณผิวหนังและในระบบทางเดินหายใจ
ผลข้างเคียง :red_cross: เรอ ผายลม มีแก๊สในท้องหรือลำไส้ แน่นท้องหรือประสาทสัมผัสการรับรสเปลี่ยนไป
SENOLAX TAB.
sennosides tab.
รับประทานครั้งละ 2 เม็ด วันละ 1 ครั้ง
ก่อนนอน
ข้อบ่งใช้ :check: ใช้เป็นยาระบาย (ยาแก้ท้องผูก) บำบัดรักษาอาการท้องผูกในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ
ผลข้างเคียง :red_cross: คลื่นไส้อาเจียน อ่อนเพลีย ปวดท้อง ท้องอืด ท้องเสียรุนแรง เลือดออกทางทวารหนัก
FRESUBIN 1x2 Oral pc.
2 ช้อน ผสมน้ำ 50 ml
ข้อบ่งใช้ :check: เวย์โปรตีน มีโซเดียม โพแทสเซียม และฟอสฟอรัสต่ำ เหมาะกับผู้ป่วยโรคไต เพื่อป้องกันร่างกายขาดโปรตีน
ผลข้างเคียง :red_cross: หากได้รับมากไป อาจทำให้กระหายน้ำ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย หัวใจเต้นผิดปกติ ระดับคอเลสเตอรอลไม่คงที่ ไตวาย ตับเสียหาย
CAZOSIN 2 MG.TAB.
doxazosin 2 mg.tab.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง
หลังอาหาร เช้า เย็น (หยุดยาวันล้างไต :forbidden:)
ข้อบ่งใช้ :check: เป็นยากลุ่ม Alpha-adrenergic Blockers ขยายหลอดเลือด รักษาภาวะความดันโลหิตสูง
ผลข้างเคียง :red_cross: ความดันโลหิตต่ำ วิงเวียนศีรษะ ปวดศีรษะ ง่วงซึม รู้สึกอ่อนเพลีย
MADIPLOT 20 MG.TAB.
manidipine 20 mg.tab.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง
หลังอาหาร เช้า (หยุดยาวันล้างไต :forbidden:)
ข้อบ่งใช้ :check: ยาลดอัตราการเต้นของหัวใจ ทำให้หลอดเลือดขยายตัว ใช้ลดความดันโลหิตในโรคความดันโลหิตสูงในผู้ใหญ่
ผลข้างเคียง :red_cross: ปวดศีรษะ หน้าแดง วิงเวียน ใจสั่น บวม
FOLIC ACID 5 MG.TAB.(GPO)
folic acid 5 mg.tab.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง
หลังอาหาร เช้า
ข้อบ่งใช้ :check: ยารักษาภาวะโลหิตจาง จากการขาดกรดโฟลิก
ผลข้างเคียง :red_cross: เวียนศีรษะ ไม่อยากอาหาร เรอ ท้องอืด มีแก๊สในกระเพาะอาหาร รู้สึกขมปาก มีปัญหาเกี่ยวกับการนอนหลับ ซึมเศร้า ตื่นเต้น กระสับกระส่าย แปรปรวน
HEPALAC SYRUP 100 ML.
lactulose 66.7% SYR. 100 ml.
รับประทานครั้งละ 2 ช้อนโต๊ะ (30 ซีซี) วันละ 1 ครั้ง
ก่อนนอน
ข้อบ่งใช้ :check: เพื่อขับของเสียออกจากร่างกาย แก้ท้องผูก
ผลข้างเคียง :red_cross: ปวดท้อง ท้องเสีย คลื่นไส้ ท้องอืด มีแก๊สในกระเพาะ
APRESOLINE 25 MG.TAB.
hydralazine 25 mg.tab.
รับประทานครั้งละ 2 เม็ด วันละ 4 ครั้ง
หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น และก่อนนอน
(หยุดยาวันล้างไต :forbidden:)
ข้อบ่งใช้ :check: ยาลดความดันโลหิต มีคุณสมบัติในการขยายหลอดเลือดโดยตรง
ผลข้างเคียง :red_cross:คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องเสีย ท้องผูก เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ วิตกวังวล ปวดข้อหรือกล้ามเนื้อ น้ำมูกไหล คัดจมูก ผื่นขึ้นหรือคันตามผิวหนัง
FERMASIAN 200 MG.TAB.
ferrous fumarate 200 mg.tab.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง
หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น
( :warning: ทานยาห่างจากแคลเซียม นม ยาลดกรด อย่างน้อย 2 ชม.)
ข้อบ่งใช้ :check: เป็นยาในกลุ่มแร่ธาตุ มีธาตุเหล็ก ใช้เพื่อป้องกันและรักษาภาวะเลือดจางจากการขาดธาตุเหล็ก
ผลข้างเคียง :red_cross: ท้องผูก ท้องร่วง ระคายเคืองทางเดินอาหาร คลื่นไส้ หรือปวดบริเวณลิ้นปี่ อุจจาระมีสีดําหรือคล้ำขึ้น
CALCIFEROL CAP.
vitamin D2 20,000 iu.cap.
รับประทาน 2 เม็ดต่อสัปดาห์ วันอังคาร
ข้อบ่งใช้ :check: วิตามินดี 2 มีฤทธิ์ช่วยให้ร่างกายดูดซึมแคลเซียมและฟอสฟอรัสได้ดีขึ้น ช่วยบำรุงกระดูก รักษาและป้องกันโรคกระดูกพรุน
ผลข้างเคียง :red_cross: โดยปกติไม่ก่อให้เกิดผลข้างเคียง แต่อาจมีอาการแพ้ หรือถ้าได้รับมากเกินไป อาจมี กระหายน้ำมาก ปัสสาวะมาก อารมณ์เปลี่ยนแปลงไป รู้สึกเหนื่อยล้าผิดปกติ เวียนหัว อาเจียน ไม่อยากอาหาร ท้องผูก เป็นต้น
CALTAB-1.25 TAB.
calcium carbonate 1,250 mg.tab.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง
หลังอาหาร เช้า เย็น
ข้อบ่งใช้ :check: เป็นยาในกลุ่มวิตามินและแร่ธาตุ ใช้เพื่อรักษาภาวะขาดแคลเซียม เป็นยาเสริมในการป้องกันและรักษาโรคกระดูกพรุน และใช้เป็นตัวจับฟอสเฟตในผู้ป่วยที่มีภาวะไตบกพร่อง
ผลข้างเคียง :red_cross: คลื่นไส้ ท้องอืด ท้องผูก ท้องเสีย ปวดท้อง
ONE-ALPHA 0.25 MCG.CAP.
alfacalcidol 0.25 mcg.cap.
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง
หลังอาหาร เช้า
ข้อบ่งใช้ :check: เพิ่มปริมาณวิตามินดีในร่างกาย
รักษาภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ ภาวะฮอร์โมนพาราไทรอยด์ตํ่า
ภาวะฟอสเฟตในเลือดต่ำ กระดูกบกพร่องจากภาวะไตวายเรื้อรัง
โรคกระดูกอ่อนหรือโรคกระดูกน่วม
ผลข้างเคียง :red_cross: ปัสสาวะบ่อย เหงื่อออกมาก บวมตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย มีไข้พร้อมกับเจ็บบริเวณข้างลำตัว ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ กระหายน้ำ เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน ปากแห้ง มีรสชาติคล้ายโลหะภายในปาก ปวดกระดูกและกล้ามเนื้อ รู้สึกไม่สบาย ท้องเสีย ท้องผูก มีผื่นขึ้น คันตามตัว หรือมีอาการลมพิษ
SODIUM BICARBONATE 300 MG.TAB.(DPF)
sodium bicarbonate 300 mg.tab.
รับประทานครั้งละ 2 เม็ด วันละ 1 ครั้ง
หลังอาหาร เช้า
ข้อบ่งใช้ :check: รักษาภาวะเลือดเป็นกรด ปรับสมดุลกรดเบสในร่างกาย ในผู้ป่วยโรคไต
ผลข้างเคียง :red_cross: ภาวะเกลือโซเดียมต่ำ ภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ ปวดบีบท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ ผายลม
PHOSPHATE SOLUTION 180 CC.
phosphate solution 180 ml.
รับประทานครั้งละ 2 ช้อนโต๊ะ (30 ซีซี) วันละ 1 ครั้ง
หลังอาหาร เช้า
ข้อบ่งใช้ :check: ยารักษาภาวะฟอสเฟตในเลือดต่ำ,ระดับแคลเซียมในเลือดสูง หรือ นิ่วในไต
ผลข้างเคียง :red_cross: ปวดกล้ามเนื้อ ชักกระตุก รู้สึกชารอบปาก ปวดกระดูก ปวดข้อ คัน ผื่นขึ้น ในรายที่เป็นโรคไต อาจมีภาวะของเสียคั่งในเลือดร่วมด้วย อาจมี อ่อนเพลีย หายใจไม่อิ่ม คลื่นไส้ อาเจียน มีปัญหาในการนอน
NSS 0.9% INJ. 5 ML. (V)
sodium chloride 0.9% inj. 5 ml.
พ่นยาโดยเครื่องพ่นยา (Nebulizer) ครั้งละ 3 ml. ทุก 6 ชม.
ข้อบ่งใช้ :check: เพื่อเพิ่มความชุ่มชื้นในระบบทางเดินหายใจ
TAZOCIN 4.5 GM.INJ.
piperacillin+tazobactam (4+0.5)
2.25 gm IV q 8 hr + NSS 50 ml
(ให้หลัง HD)
ข้อบ่งใช้ :check: ใช้รักษาการติดเชื้อแบบ moderate –severe ที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดินหายใจ ทางเดินปัสสาวะ การติดเชื้อบริเวณกระดูกและข้อ การติดเชื้อภายในช่องท้องและการติดเชื้อในกระแสเลือด
ผลข้างเคียง :red_cross: ปวดศีรษะ นอนไม่หลับ เยื่อบุช่องปากอักเสบ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก อาหารไม่ย่อย ปวดท้อง ความดันเลือดต่ำ ปวดบวม หลอดเลือดดำอักเสบบริเวณที่ฉีดยา ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ
OMEPRAZOLE (ZEFXON) 40 MG.INJ
omeprazole sodium 40 mg.inj.
ครั้งละ 40 mg IV q 12 hrs.
ข้อบ่งใช้ :check: ยาลดการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร เพื่อป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร
ผลข้างเคียง :red_cross: ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดท้อง มีแก๊สในกระเพาะอาหาร
INHALEX FORTE 4 ML.
ipratopium+fenoterol (12.5+31)
พ่นยาโดยเครื่องพ่นยา (Nebulizer) ครั้งละ 1 หลอด (Nebule) ทุก 6 ชั่วโมง
ข้อบ่งใช้ :check: เป็นยาขยายหลอดลมในกลุ่มยา β2 agonist
ผลข้างเคียง :red_cross: ปากแห้ง คอแห้ง ตาพร่า ปัสสาวะขัด หัวใจเต้นเร็ว เต้นผิดจังหวะ คลื่นไส้อาเจียน ปวดศีรษะ มึนงง
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
โลหิตวิทยา
CBC (Complete Blood Count)
30/11/63
Hemoglobin (Hb) : 8.8 g/dL ต่ำกว่าปกติ
Hematocrit (Hct) : 27.8 % ต่ำกว่าปกติ
RBC : 3.38 10^6/uL ต่ำกว่าปกติ
RDW : 16.6 % สูงกว่าปกติ
Neutrophil : 83.7 % สูงกว่าปกติ
Lymphocyte : 6.4 % ต่ำกว่าปกติ
01/12/63
Hemoglobin (Hb) : 8.9 g/dL ต่ำกว่าปกติ
Hematocrit (Hct) : 28.3 % ต่ำกว่าปกติ
RBC : 3.39 10^6/uL ต่ำกว่าปกติ
RDW : 16.7 % สูงกว่าปกติ
Neutrophil : 84.2 % สูงกว่าปกติ
Lymphocyte : 5.9 % ต่ำกว่าปกติ
02/12/63
Hemoglobin (Hb) : 9.3 g/dL ต่ำกว่าปกติ
Hematocrit (Hct) : 29.3 % ต่ำกว่าปกติ
RBC : 3.54 10^6/uL ต่ำกว่าปกติ
WBC : 10.70 10^3/uL สูงกว่าปกติ
Neutrophil : 83.5 % สูงกว่าปกติ
Lymphocyte : 6.3 % ต่ำกว่าปกติ
03/12/63
Hemoglobin (Hb) : 8.8 g/dL ต่ำกว่าปกติ
Hematocrit (Hct) : 27.9 % ต่ำกว่าปกติ
RBC : 3.39 10^6/uL ต่ำกว่าปกติ
WBC : 11.37 10^3/uL สูงกว่าปกติ
Neutrophil : 83.8 % สูงกว่าปกติ
Lymphocyte : 5.2 % ต่ำกว่าปกติ
06/12/63
Hemoglobin (Hb) : 8.3 g/dL ต่ำกว่าปกติ
Hematocrit (Hct) : 26.5% ต่ำกว่าปกติ
RBC : 3.24 10^6/uL ต่ำกว่าปกติ
MCH 25.7 pg ต่ำกว่าปกติ
MCHC 31.3 g/dL ต่ำกว่าปกติ
WBC : 16.82 10^3/uL สูงกว่าปกติ
Neutrophil : 88.9 % สูงกว่าปกติ
Lymphocyte : 3.9 % ต่ำกว่าปกติ
เคมีคลินิก
30/11/63
Bun 47.9 mg/dL สูงกว่าปกติ
eGFR 12.32 mL/min ต่ำกว่าปกติ
Creatinine 3.54 mg/dL สูงกว่าปกติ
Albumin 2.9 g/dL ต่ำกว่าปกติ
Calcium 8.1 mg/dL ต่ำกว่าปกติ
02/12/63
Bun 40.4 mg/dL สูงกว่าปกติ
eGFR 13.46 mL/min ต่ำกว่าปกติ
Creatinine 3.29 mg/dL สูงกว่าปกติ
Albumin 2.4 g/dL ต่ำกว่าปกติ
Calcium 8.1 mg/dL ต่ำกว่าปกติ
การแปลผล
Creatinine
ค่าปกติ 0.55-1.02 mg/dL
สูงกว่าปกติ บ่งบอกถึงการทำงานของไตที่เสื่อมสภาพ ไตมีการสูญเสียหน้าที่ การกรองน้อยลง
eGFR
ค่าปกติ > 90 ml/min/1.73m2
ต่ำกว่าปกติ แสดงถึงประสิทธิภาพในการทำงานของไต อัตราการกรองของไตลดลง
มีภาวะไตเสื่อม
Bun
ค่าปกติ 7.0-18.7 mg/dL
สูงกว่าปกติ แสดงถึงประสิทธิภาพในการทำงานของไต ไตสูญเสียหน้าที่ ทำให้มีการกรองลดลง จะทำให้ Bun เกิดการคั่งในกระแสเลือด สูงกว่าปกติ
Albumin
ค่าปกติ 3.5-5.2 g/dL
ต่ำกว่าปกติ Albumin มีหน้าที่ควบคุมความสามารถในการกักเก็บน้ำไว้ในหลอดเลือด ถ้าต่ำ อาจแสดงถึงภาวะที่ร่างกายขาสารอาหาร และมีอาการบวม
Calcium
ค่าปกติ 8.6-10.2 mg/dL
ต่ำกว่าปกติ เสี่ยงต่อภาวะสูญเสียมวลกระดูกและอาจมีภาวะการสะสมของผลึกแคลเซียมในร่างกาย
จุลชีววิทยา
การตรวจ : Arterial blood gas
30/12/63
PH 7.383 ปกติ
pCO2 47.7 mmHg สูงกว่าปกติ
pO2 101.6 mmHg ปกติ
HCO3- 27.8 mmol/L ปกติ
O2SAT 97.5 % สูงกว่าปกติ
01/12/63
PH 7.412 ปกติ
pCO2 44.5 mmHg ปกติ
pO2 91.9 mmHg ปกติ
HCO3- 27.8 mmol/L ปกติ
O2SAT 96.9 % สูงกว่าปกติ
02/12/63
PH 7.436 ปกติ
pCO2 40.5 mmHg ปกติ
pO2 170.8 mmHg สูงกว่าปกติ
HCO3- 26.8 mmol/L ปกติ
O2SAT 99.4 % สูงกว่าปกติ
การตรวจ : Gram’s stain จาก sputum (suction) 01/12/63
ผล Gram Negative Bacilli
พยาธิสภาพ
ESRD (End Stage Renal Disease)
ภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
โรคไตเรื้อรัง (chronic kidney disease CKD)
ไตมีอัตราการกรองต่ำกว่า 60 มิลลิลิตร/นาที/1.73 ตารางเมตร นานกว่า 3 เดือน โดยอาจมีความผิดปกติทางพยาธิสภาพของไตหรือไม่ก็ได้
(End Stage Renal Disease)
ภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
เป็นภาวะที่มีการทำลายเนื้อไตอย่างต่อเนื่อง ระยะเวลามากกว่า 3 เดือน
ไตไม่สามารถกลับมาทำหน้าที่ได้ตามปกติ
ไม่สามารถรักษาให้กลับมาเป็นปกติได้
สาเหตุ
ทางเดินปัสสาวะอุดตัน
โรคเบาหวาน
โรค SLE
หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงไตตีบตัน
จากยาบางชนิด
กรวยไตอักเสบเรื้อรัง
ผู้ป่วย :
เป็นโรคเบาหวาน(DM)มาประมาณ 25ปี
เป็นโรคความดันโลหิตสูงมาประมาณ 25ปี
โรคความดันโลหิตสูง
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
CT Scan & Ultrasound
การตรวจเพื่อประเมินขนาดไต โดยอาจจะใช้ U/S หรือ CT
แสดงให้เห็นภาพไตของผู้ป่วย ซึ่งจะทำให้แพทย์สามารถสังเกตเห็นความผิดปกติของไต และระบบทางเดินปัสสาวะได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
การตรวจเลือด
การตรวจเกลือแร่ พบว่าเลือดจะเป็นกรดมีค่า CO2 อยู่ระหว่าง 15-20 mmol/L calcium ในเลือดจะต่ำ Phosphate ในเลือดสูง
แสดงถึงประสิทธิภาพในการกรองของไต ซึ่งถ้าหากมีภาวะไตวาย จะมีปริมาณ Bun,Creatinine ที่เป็นของเสียที่มาจากกล้ามเนื้อจะตกค้างในเลือดสูง และค่า eGFR จะมีค่า < 90 ml/min/1.73m2
การตรวจหา BUN ค่าปกติไม่เกิน 20 mg%
ผู้ป่วย
02/12/63
Bun 40.4 mg/dL สูงกว่าปกติ
eGFR 13.46 mL/min ต่ำกว่าปกติ
Creatinine 3.29 mg/dL สูงกว่าปกติ
Albumin 2.4 g/dL ต่ำกว่าปกติ
Calcium 8.1 mg/dL ต่ำกว่าปกติ
การตรวจปัสสาวะ
ตรวจหาโปรตีนหรือเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาวที่ปนออกมากับปัสสาวะ
การรักษา
การปลูกถ่ายไต Transplantation
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม Hemodialysis
การล้างไตทางช่องท้อง Peritoneal dialysis
ผู้ป่วย
ผู้ป่วยได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม Hemodialysis
จำกัดน้ำดื่ม <= 800 ml/day
ควบคุมระดับน้ำตาล keep 80-180 mg%
อาการและอาการแสดง
โรคไต แบ่งออกเป็น 5 ระยะ
(ตามการทำงานของไต)
ระยะที่ 3
ระยะ 3a eGFR 45-59 ml/min/1.73m2
ระยะ 3b eGFR 30-44 ml/min/1.73m2
ระยะที่ 4
eGFR 15-29 ml/min/1.73m2
ระยะที่ 2
eGFR 60-89 ml/min/1.73m2
ระยะที่ 5
eGFR <15 ml/min/1.73m2
ระยะที่ 1
eGFR > 90 ml/min/1.73m2
ผู้ป่วย
eGFR 13.46 mL/min ต่ำกว่าปกติ
อาการ
เมื่อโรคไตเรื้อรังมีความรุนแรงมากขึ้น ไตเริ่มแย่ลง ผู้ป่วยอาจมีอาการบวมน้ำ เมื่อไตไม่สามารถขจัดของเสียส่วนเกินได้ เกิดขึ้นได้ที่ขา เท้า หรือข้อเท้า รวมถึงมือหรือใบหน้า เมื่อเข้าสู่โรคไตเรื้อรังระยะที่3 เป็นต้นไป ไตจะขับน้ำและของเสียออกทางปัสสาวะไม่ได้ปกติ จะมีอาการ ดังนี้
เจ็บหน้าอก
ตะคริวที่กล้ามเนื้อ
ผิวแห้ง
คลื่นไส้
คันหรือชา
หายใจลำบาก
เหนื่อย
ปวดศีรษะ
ปัสสาวะเพิ่มขึ้นหรือลดลง
เบื่ออาหาร
อาการทางสมอง เนื่องจากเกิดพิษของ uremia และความไม่สมดุลของน้ำ อิเล็กโทรไลต์ และกรด-ด่าง ทำให้มีอาการ เช่น
ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ง่วงซึม มือสั่น สับสน ความรู้สึกตัวลดลง กล้ามเนื้อกระตุก ชักและไม่รู้สึกตัว
ผู้ป่วย
มีอาการอ่อนเพลีย ผิวหนังแห้งคัน ง่วงซึม กล้ามเนื้อกระตุก มีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ มีภาวะหัวใจล้มเหลว
หายใจหอบเหนื่อย มีอาการอ่อนแรง บวมกดบุ๋ม 2+ ปัสสาวะไม่ออก
ไต
หน้าที่สำคัญของไต
1.ขับถ่ายของเสียที่เกิดจากการแตกตัวของโปรตีนในอาหาร ออกจากร่างกาย
2.รักษาสมดุลน้ำ เกลือแร่ กรดและด่างในร่างกาย
3.ควบคุมความดันโลหิต
4.สร้างฮอร์โมนกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดงในไขกระดูก
หมายเหตุ
Renin ทำหน้าที่ควบคุมความดันโลหิต
Vitamin D ทำหน้าที่สร้างกระดูก
Erythropoietin ทำหน้าที่กระตุ้นไขกระดูก สร้างเม็ดเลือดแดง
Problem list
เลือดออกง่าย
ผู้ป่วยและญาติวิตกกังวล
CKD stage 5 บวมจากของเสียคั่ง
ผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองไม่ได้
ผู้ป่วย on endotracheal tube
O2sat drop (01/11/63)
มีจ้ำเลือดที่แขนขวา
มีไข้ขึ้น (01/11/63)
MDR(04/12/63)