Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการสังเคราะห์แสง, นาย เตชินท์ วาทบัณฑิตกุล…
นักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการสังเคราะห์แสง
Jean Senebier
ค้นพบว่าแก๊สที่ทำให้เกิดการลุกไหม้และการหายใจคือ ออกซิเจน และแก๊สที่เกิดหลังการเผาไหม้และการหายใจคือแก๊สคาร์บอนไดออกไซต์
Jan Ingen-Housz
ได้ทำการทดลองคล้ายของ Joseph Priestley แต่ลองในเวลากลางวันและกลางคืน พบว่าในตอนกลางคืนพืชไม่สามารถเปลี่ยนอากาศเสียเป็นอากาศดีได้
สรุป พืชต้องใช้แสงในการเปลี่ยนอากาศ
Van Helmont
ในปี ค.ศ. 1648 เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวเบลเยี่ยม ได้ทดลองปลูกต้นหลิวหนัก 5 ปอนด์ในถังใบใหญ่ที่บรรจุดินซึ่งทำให้แห้งสนิทหนัก 200 ปอนด์ ระหว่างทำกาทดลองได้รดน้ำต้นหลิวที่ปลูกไว้ทุกๆวัน ด้วยน้ำฝนหรือน้ำกลั่นเป็นระยะเวลา 5 ปีต้นหลิวเจริญขึ้นหนักเป็น 169ปอนด์ 3 ออนซ์ (ไม่ได้รวมน้ำหนักของใบซึ่งร่วงไปในแต่ละปี) และเมื่อนำดินในถังมาทำให้แห้งแล้วนำไปชั่ง ปรากฏว่ามีน้ำหนักน้อยกว่าดินที่ใช้ก่อนทำการทดลองเพียง 2 ออนซ์เท่านั้น
สรุป น้ำหนักของต้นหลิวที่เพิ่มขึ้นได้มาจากน้ำเพียงอย่างเดียว
Robin Hill
ไดทดลองโดนนำ คลอโรพลาสจากผักขมใส่ในหลอดทดลอง 2 หลอด โดยหลอดที่ 1 ผสมเกลือเฟอริก และหลอดที่ 2 เป็นคลอโรพลาสอย่างเดียว นำได้ไว้ที่มีแสง พบว่าในหลอดที่ 1 เกิดเกลือเฟอรัส และออกซิเจน หลอดที่ 2 ไม่มีอะไรเกิดขึ้น จากการทดลองเกลือเฟอริกจะเป็นเกลือเฟอรัสได้ต้องมี ไฮโดรเจน
สรุป ไฮโดรเจนและออกซิเจน เกิดจากน้ำ
Julius Sachs
พบว่าสารอินทรีย์ที่พืชสร้างคือ น้ำตาลและแป้ง
Jan Ingen-Housz
ได้ทำการทดลองคล้ายของ Joseph Priestley แต่แยกส่วนของพืชที่อยู่ในแก้ว แล้วจุดไฟแล้วรอไฟดับและนำแต่ละส่วนไปไว้ในที่ที่มีแสง และลองจุดไฟอีกครั้ง พบว่า ส่วนที่มีสีเขียนสามารถนำไฟไปจุดอีกครั้งได้
สรุป พืชส่วนที่มีสีเขียวสามารถแลกเปลี่ยนแก๊ส
Sam Ruben & Martin Kamen
ได้นำสาหร่ายสีเขียวใส่หลอดทดลอง 2 หลอดโดย หลอดที่1 ใส่น้ำกำมังตภาพรังสีและคาร์บอนไดออกไซต์ธรรมดา หลอดที่2 ใส่ น้ำธรรมดา และ คาร์บอนไดออกไซต์กำมันตภาพรังสี พบว่า ออกซิเจนจากการสังเคราะห์แสงในหลอดที่1 เป็นออกซิเจนกำมังตภาพรังสี และหลอดที่ 2 เป็น ออกซิเจนธรรมดา
สรุป ออกซิเจนที่ได้จากการสังเคราะห์แสงได้จากน้ำ
Nicolas Theodore de Soussure
จากการทดลองของ Van Helmont เขาคิดว่าพืชไม่น่าจะใช้แค่น้ำแต่น่าจะเก็บสารอย่างอื่นอีก และได้นำความรู้ด้วนเคมีมาทดลอง พบว่า พืชหายใจตลอดเวลาแต่จะสังเคราะห์แสงเฉพาะตอนกลางวัน ,แร่ธาคุในดินก็มีส่วนในการเจริญเติบโตของพืช และ น้ำเป็นส่วนสำคัญในการสังเคราะห์แสง
สรุป น้ำหนักของพืชไม่ได้มาจากแค่น้ำแต่รวมไปถึงแร่ธาตุต่างๆ
WHIHELM ENGELMAN
ชาวเยอรมัน ในปี พ.ศ. 2438 หรือ ค.ศ. 1895การทดลองของเองเกลมันใช้ Aerobic bacteria และใช้ส่าหร่าย spirogyra ที่มีรงควัตถุเหมือนพืช เพื่อยืนยันว่าความยาวคลื่อ ณ แสงสีแดง และแสงสีม่วง ทำให้เกิดการสังเคราะห์มากที่สุด คือมีการปล่อย ออกซิเจนออกมามากสุดนั่นเอง
สรุป สีแดงและสีน้ำเงินทำให้พืชสังเคราะห์แสงได้มาก
Joseph Priestley
ในปี ค.ศ.1772 เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้ทดลองจุดไฟแล้วปิดด้วยแก้วสักพักไฟก็ดับ และของนำหนูปิดด้วยแก้วสักพักหนูก็ตาย แต่พอนำต้นไม้ไปไว้ในแก้วนั้นทำให้สามารถจุดเทียนต่อได้ระยะหนึ่ง
สรุป ต้นไม้เปลี่ยนอากาศเสียเป็นอากาศดีได้
นาย เตชินท์ วาทบัณฑิตกุล ม.4/7 เลขที่13 นาย กษิดิ์เดช ศิริกุล ม.4/7 เลขที่27