Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดตาม การนิเทศ และการประเมินงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
การติดตาม การนิเทศ และการประเมินงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การติดตามงานส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร
องค์ประกอบของการติดตาม
กระบวนการในการบริหารงาน โดยมีการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลและรายงานสรุปเกี่ยวกับการทำงาน
เป็นการติดตาม ทบทวน เเละเฝ้าดูความก้าวหน้าของการทำงานอย่างต่อเนื่อง
เป็นการตรวจสอบการดำเนินงานให้เป็นไปตามแผนงาน ให้มีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าประสงค์
ผลของการติดตามจะเป็นข้อมูลย้อนกลับ
ความสำคัญ
การกำหนดความรับผดชอบ
การตรวจสอบความก้าวหน้าของการดำเนินงาน
การให้ข้อมูลเเละสารสนเทศสำหรับการตัดสินใจ
ทำให้เกิดองค์ความรู้และการเรียนรู้
ความสำคัญของโครงการหรือแผนงาน
หลักการติดตามงาน
หลักความถูกต้องเเละเเม่นยำ
หลักความทันเวลา
หลักความประหยัด
หลักความยืดหยุ่น
หลักความสามารถที่จะทำความเข้าใจ
หลักการมีมาตรฐานที่สมเหตุสมผล
หลักการเน้นเฉพาะเรื่องที่สำคัญ
หลักการใช้เกณฑ์หลากหลาย
หลักการเสนอข้อปรับปรุง
กระบวนการติดตามงาน
ขั้นตอนการศึกษาแผนงาน
ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้นตอนเปรียบเทียบผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการตัดสินใจ
ขั้นตอนการรายงาน
รูปแบบของการติดตามงาน
การติดตามอย่างไม่เป็นทางการ
การติดตามอย่างเป็นทางการ
วิธีการติดตามงาน
ติดตามจากบันทึกและรายงาน
ติดตามจากการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยตรง
รายงานผลการติดตาม
การเตรียมการ
การพัฒนาผู้จัดการแปลง
การกำหนดเป้าหมาย
การดำเนินงานตามแผน
การติดตามและประเมินผล
การนิเทศงานส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร
ลักษณะของการนิเทศ
ชี้เเจง หรือจำเเนกเกี่ยวกับงาน
กระบวนการทำงานร่วมกันระหว่างผู้นิเทศกับผู้รับการนิเทศ เพื่อให้ได้ผลสัมฤทธิ์ในงาน
เป็นความพยายามให้รู้จักปรับปรุงการทำงาน ให้เกิดความก้าวหน้า เเละเป็นส่วนช่วยในการกำหนดวัตถุประสงค์
เป็นการทำงานที่ผสมผสานทักษะหลัก ได้แก่ ความรู้ ทักษะด้านปฏิสัมพันธ์ และทักษะเฉพาะด้าน
กระตุ้นให้ผู้รับการนิเทศได้ตระหนักถึงภาระงาน และพึ่งตนเองได้
วัตถุประสงค์ของการนิเทศงาน
เพื่อพัฒนาบุคลาการ
เพื่อพัฒนางาน
เพื่อสร้างความสัมพันธ์
เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน
ความสำคัญของการนิเทศงาน
ความสำคัญต่อบุคลากร : ต้องมีการพัฒนาตนเองตลอดเวลา เพื่อให้ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ความสำคัญต่อองค์กร : ผู้ที่เกี่ยวข้องต้องมีคุณสมบัติเหมาะสม มีการวางนโยบาย มีการเเลกเปลี่ยนเรียนรู้ การทำรายงาน การจดบันทึก เพื่อให้องค์กรเกิดการเปลี่ยนแปลงรองรับสถานการณืใหม่ๆที่อาจเกิดขึ้น
ความสำคัญต่อวิชาชีพ : ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับงานมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จึงจำเป็นต้องมีการนิเทศเพื่อเเลกเปลี่ยนเรียนรู้วิทยาการ และทักษะต่างๆที่สำคัญ
หลักการนิเทศงาน
หลักความถูกต้องทางวิชาการ
หลักความเป็นเหตุเป็นผล
หลักการมีส่วนร่วม
หลักการสร้างสรรค์
หลักภาวะผู้นำ
หลักมนุษยสัมพันธ์
กระบวนการนิเทศงาน
ขั้นประเมินสภาพปัจจุบัน
ขั้นวางแผน
ขั้นการลงมือปฏิบัติ
ขั้นการสร้างขวัญและกำลังใจ
ขั้นประเมินผล
ขั้นรายงาน
รูปแบบการนิเทศงาน
การนิเทศเพื่อแก้ไข
การนิเทศเพื่อป้องกัน
การนิเทศเพื่อก่อ
การนิเทศเพื่อสร้างสรรค์
แบบรายกลุ่ม
แบบรายบุคคล
วิธีการนิเทศงาน
แบบเผชิญหน้า
ผ่านสื่อ
การประเมินงานส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร
การประเมินหมายถึง กระบวนการก็บรวบรวมข้อมูลการปฏิบัติตามแผนงาน แล้วใช้ข้อมูลเหล่านั้นในการแก้ไขปรับปรุงวิธีการปฏิบัตงานให้เป็นไปตามแผน
องค์ประกอบสำคัญ
ประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล
ผลกระทบ
ความสำคัญ
ช่วยให้การกำหนดวัตถุประสงค์มีความชัดเจน
ช่วยให้โครงการบรรลุวัตถุประสงค์
เป็นตัวช่วยในการควบคุมคุณภาพของงาน
เป็นตัวช่วยในการตัดสินใจ
ช่วยให้ใช้ทรัพยากรได้อย่างคุ้มค่า
เป็นประโยชน์แก่การวางแผน
ช่วยสร้างขวัญและกำลังใจ
ประเภทของการประเมิน
แบ่งตามลักษณะ
ประเมินก่อนเริ่มโครงการ
ประเมินระหว่างดำเนินการ
ประเมินหลังการดำเนินงาน
แบ่งโดยยึดหลักของการประเมิน
ประเมินขั้นต้น
ประเมินระหว่างดำเนินการ
ประเมินสุดท้าย
ประเมินกระทบ
แบ่งโดยยึดแบบแผนการประเมิน
ประเมินเชิงสำรวจ
ประเมินเชิงทดลอง
หลักการประเมิน
ด้านความคิด
กำหนดแนวคิดร่วมกัน
มีทัศนคติที่ดี
นโยบายชัดเจน
สร้างกระบวนการเรียนรู้
สื่อสารทำความเข้าใจ
ด้านการออกแบบประเมิน
ถูกต้องตามแบบแผน
เหมาะสมกับสถานการณ์
ครอบคลุมทุกมิติ
ตัวชี้วัดชัดเจน
ไม่ซับซ้อนเกินไป
ด้านการดำเนินการประเมิน
การมีส่วนร่วม
มีความต่อเนื่อง
มีข้อมูลน่าเชื่อถือ
ทำงานเป็นทีม
มีบรรยากาศทำงานที่ดี
กระบวนการประเมิน
แบบสตัฟเฟิลบีม
ประเมินสาภพแวดล้อมหรือบริบท
ประเมินปัจจัยนำเข้า
ประเมินกระบวนการ
ประเมินผลผลิต
แบบไทเลอร์
เอาจุดมุ่งหมายเป็นหลักของการประเมิน
แบบสคริฟเวน
ให้ความสนใจกับผลที่เกิดขึ้นจริง
วิธีการประเมิน
มุ่งเน้นกระบวนการ
เป็นทางการ
ไม่เป็นทางการ
เชิงธรรมชาติ
เชิงระบบ
มุ่งเน้นผู้ประเมิน
ประเมินการปฏิบัติงานโดยผู้บริหาร
ประเมินการปฏิบัติงานโดยกรรมการประเมิน
ประเมินการปฏิบัติงานโดยผู้ปฏิบัติงานระดับเดียวกัน
ประเมินผู้บริหารโดยผู้ปฏิบัติงาน
ประเมินการปฏิบัติงานโดยบุคคลเป้าหมาย