Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Siam's Colonial Conditions and the Birth of Thai History - Coggle…
Siam's Colonial Conditions and
the Birth of Thai History
Siam's siwilai antiquity
สุโขทัย
พบในปี 1830
บัลลังก์
เครื่องราชกกุธภัณฑ์
ศิลาจารึก
สังคมอุดมคติ
แนวคิดพ่อของพสนิกร
นับถือศาาสนาพุทธ
กษัตริย์ผู้ชอบธรรม
เป็นประชาธิปไตย
เป็นยุคทอง (อุดมการ์ทางการเมือง)
ไม่นิยมราชานิยม
อนุรักษ์นิยม
ราชานิยม
เสรีนิยม
สฤษดิ์ ธนะรัชต์
จำลองมาจากสุโขทัย
พัฒนาการประวัติศาสตร์ไทย
ปี 2530 คาดว่าประวัติศาสตร์ไทยอาจเป็นของปลอม (ถูกประดิษฐ์ขึ้น)
พระราชพงศาวดารถูกวิพากษ์วิจารณ์ เพราะสุโขทัยถูกสร้างช่วงปี 1900-1920
เป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสต์ไทย จึงเป็นข้อจำกัดในการศึกษา เช่น อารยธรรมก่อนหน้า
การมองข้ามรัฐร่วมสมัยสุโขทัย
The misleading royal-nationalist history
ประวัติศาสต์สยาม
ชาตินิยม
สถาบันกษัตริย์ไทย เป็นวีรบุรุษแห่งชาตินิยม
ราชานิยม
ลัทธิชาตินิยมแบบราชานิยม
การต่อต้านอาณานิคม
พม่า
พม่าเป็นภัยคุกคามต่างชาติ
สงครามสยามกับพม่า
ยุโรป
ปี 2436 ลัทธิล่าอาณานิคมยุโรปหายไป
เงื่อนไข
โดยตรง
โอกาสและอำนาจอิสระในการผลิตซ้ำประวัติศาสตร์
ความจริงเพียงครึ่งเดียว
อคติ
The birth of Siam’s history
hallmarks of modern historiography จุดเด่น
หลายสำนักประวัติศาสตร์
การตีความหลักฐาน
นัยยะของพงศาวดาร
countries uphold
the history of one’s nation ประวัติศาสตร์กระแสหลัก
วาทกรรม
Siam’s siwilai antiquity, highlighted by the history of Sukhothai
Siam’s enduring struggles for independence
จุดอ่อน แคบ อคติ ไม่มีเหตุผล
chronicles in Siam
อิทธิพลของสันสกฤต พุทธ เขมร
crypto-colonial condition
reflected the ideology of the royal chronicles or of any Buddhist chronicles
the Franco-Siamese conflict
การทำลายวิกฤตและความขายหน้าจากอาณานิคม ยุค ร.5
ความขัดแย้งจากผู้ปกครอง
the Siamese elite to a serious and thoroug about World condition
The paradoxical character of Siam’s nation-making
การปฏิรูปการปกครองส่วนภูมิภาค
รวมล้านนาภาคเหนือ ภาคใต้ปัตตานี
และดินแดนลาวทั้งสองฝั่งโขง
Siam as a crypto - colony
Neo - colonial
การผสมทางวัฒนธรรม
การปรับตัวของสถาบันกษัตริย์ให้ทันสมัย
การขยายตัวทางเศรษฐกิจของสยาม
การเปิดพื้นที่สามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา
การค้าไม้ทางตอนเหนือของประเทศ
ความเป็นเมืองของกรุงเทพ
การเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจกับประเทศอาณานิคมอื่นๆ
การปรับตัวของผู้ปกครองสยาม
การปรับปรุงระบบราชการ
การแต่งกาย
การบริโภคสินค้า
อิทธิพลของที่ปรึกษาชาวตะวันตก
ที่ปรึกษาของกษัตริย์
การจัดทำแผน
การพัฒนาไปรษณีย์/โทรเลข
การจัดทำประมวลกฏหมาย
Siam's anti-colonial history
การต่อสู้
ก่อนศตวรรษที่ 19
เหตุผลทางศาสนา
ศตวรรษที่ 20
เหตุผลของเอกราช
พงศาวดารอยุธยา
บันทึกของกษัตริย์
บุญบารมี
ศีลธรรม
ความชอบธรรม
ไทยรบพม่า
พระยาดำรง
จุดริ่มต้นของประวัติศาสตร์
สงครามกับพม่า
ความแข็งแกร่งและการกอบกู้อาณาจักร
ความอ่อนแอและเสียอาณาจักร
Thongchai Winichakul
ปวศ.จำนวนมากไม่ได้รับการเปิดเผย
มีผลต่อ
การพัฒนา
ประชาธิปไตย
การสร้างชาติ
โลกาภิวัตน์
มีการพยายามหักล้าง
ถูกจำกัดเพดานและความคิด
ริชาร์ด คอเนอร์
ตั้งคำถามต่อหลักฐาน
กรอบ ปวศ.ถูกทำให้หายไป
ปวศ. ถุกทำให้เข้าใจผิด
Grabowsky
ปวศ.พื้นที่ชายแดนถูกละเลย
พม่า
ลาว
ไทย
จีน
โชลอง
ปวศ.ข้ามพรมแดนช่วยทำความเข้าใจเรื่องที่ไม่ได้เปิดเผย
การพูดความจริงทาง ปวศ.
ความเสี่ยง
เสนอผิดเพี้ยน
ละเอียดอ่อน
พิจารณาซับซ้อน
ชาติไทยสมัยใหม่
เรื่องอุดมการณ์
หลายประเด็นสำคัญกำหนดความรู้ทาง ปวศ.
การท้าทายจึงอ่อนไหว
การปฏิวัติ 2475
สุโขทัยจุดเริ่มต้น ปวศ.
ปวศ.ไทย
ชาวไทย ชาวต่างชาติ
สยามไม่เคยตกเป็นเมืองขึ้น
หนังสือต่าง ๆ
ขาดการตีความเชิงประจักษ์
The Siam-was-never-colonised : premise
อยู่ภายใต้มหาอำนาจ
สยามยังมีอำนาจอธิปไตย
ยอมเสีย
ภาษี
สิทธิสภาพนอกอาณาเขต
การค้า
Modernization
การปฏิรูประบบราชการ
ผนวกล้านนา ปัตตานี
การจัดการส่วนภูมิภาค
การประนีประนอม
เสด็จเยือนยุโรป/ครั้ง สร้างการทูต
การผลิตซ้ำเรื่องสยามไม่ตกเป็นเมืองขึ้น
งานวิชาการ
หนังสือเรียน
ศิลปะ
การไม่ได้รับการยอมรับจาก ปวศ.กระแสหลัก
สยามเป็นกึ่งศักดินากึ่งอาณานิคม
Anderson
สยามเป็นกึ่งเมืองขึ้น
คล้ายรัฐกันชนอื่นๆ
ไม่มีการถกเถียง
การปฏิรูปเป็นเพียงคำสวยหรู
Collaboration,Collusion,Betrayal and Treat
Collaboration
ผู้ปกครองสยามสนับสนุนอังกฤษ และได้มีการแจ้งอังกฤษทุกฝีก้าวของฝรั่งเศษ
สยามเป็นรัฐกันชนระหว่างอังกฤษและฝรั่งเศษ
Collusion
สยามได้ทำข้อตกลงทางการค้ากับอังกฤษ (สนธิสัญญาเบาว์ริ่ง)
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและฝ่ายที่มีอำนาจเหนือกว่าขุนนางในราชสำนักได้รับประโยชน์จากสนธิสัญญานี้
betrayal
ความเชื่อมั่นของสยามต่ออังกฤษที่คาดว่าอังกฤษจะช่วยเหลือหากสยามต้องเผชิญหน้ากับฝรั่งเศษ
อังกฤษปฎิเสธที่จะให้ความช่วยเหลือหลังจากที่ฝรั่งเศษได้เข้ามาทางฝั่งลาวและแนะนำให้สยามปฏิบัติตามข้อเรียกร้องของฝรั่งเศษ
Treat
สยามยอมทิ้งฝั่งตะวันออกของแม่น้ำโขงให้ฝรั่งเศษ