Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร, หลักการจัดการความรู้ -…
การจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การใช้การจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
กรณีศึกษาการจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรระดับชุมชน
การจัดการความรู้ของศูนย์เรียนรู้ชุมชน
การกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้
การดำเนินการจัดการความรู้
ปัจจัยเกื้อหนุนให้การจัดการเรียนรูํ้ประสบความสำเร็จ
ปัจจัยด้านความรู้
ปัจจัยด้นการจัดกระบวนการเรียนรู้
ปัจจัยด้านหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการตัดการความรู้
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องและแนวทางการจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ปัจจัย
เป้าหมายความรู้
แหล่งความรู้ที่สามารถเข้าถึง ถ่ายทอดและแลกเปล่ยนได้สะดวก
ฐานความรู้
สมาชิกในกลุ่มและสมาชิกชุมชน
ลักษณะความรู้
ผู้นำกลุ่มและผู้นำชุมชน
นักส่งเสริม
เทคโนโลยีและกระบวนการจัดการความรู้
บรรยากาศและวัฒนธรรมการทำงานของกลุ่มและชุมชน
การมีเครือข่าย ภ่คีและชุมทางในการแลกเปลี่ยนความรู้ที่หลากหลาย
การสนับสนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลจากการจัดการความรู็ในการส่งเสริมและพัฒฯาการเกษตร
แนวทางในการจัดการความรู้
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มและชุมลน
การจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒฯาการเกษตรควรจัดการอยู่บนฐานทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่น
การค้นหาความรู้
การขยายผลและการต่อยอดความรู็
การปรับสิธีการและเนื้อหาสาระที่จะทำการถ่ายทอดสด
ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการทำงานในกลุ่มและชุมช
การจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
การจัดการความรู้จากการได้ปฏิบัติจริง
จัดทำระบบฐานข้อมูล
การมีผู้กระตุ้นหรือประสาน
การจัดการความรู้ที่สอดแทรกไปกับการทำงานปกติ
กรณีศึกษาการจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรระดับองค์กร
ที่มาของการจัดการความรู้เกษ๖รปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์
กระบวนการจัดกากรความรู้ด้านอาหารปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์
ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดความรู้หรือการบ่งชี้ความรู้
ขั้นตอนที่ 2 การสร้างและแสวงหาความรู้
ขั้นตอนที่ 3 การจัดองค์ความรู้ให้เป็นระบบ
ขั้นตอนที่ 4 การเรียนรู้และเพื่อให้มีการนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์
หลักการในการจัดการเรียนรู้ของเกษตรกร
ใช้ชุดสื่อวิดีทัศน์
เน้นการเรียนรู้จากการลงมือประพฤติปฎิบัติ
เน้นการเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มของคนที่อาศัยในบริเวณใกล้กันโดยใช้พื้นที่เป็นตัวตั้ง
ปัจจัยเกื้อหนุนให้จัดการเรียนรู้ประสบความสำเร็จ
ปัจจัยด้านความรู้
ปัจจัยด้านหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้
ปัจจัยด้านการจดกระบวนการเรียนรํู้
แนวคิดเกี่ยวกับความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ลักษณะและประเภทของความรู้
ความรู้ชุมชนและความรู้ที่เกิดจากการศึกษษค้นคว้าวิจัย
ประเภทความรู้
ความรู้ชัดแจ้ง หรือความรู้ที่ปรากฎ
ความรู้ฝังลึก หรือความรู้แฝงเร้น
ความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาดั้งเดิม หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น
ความรู้ที่ถูกสร้างขึ้นมาใหม่
การแสวงหา การถ่านโอนและการถ่ายทอดความรู้
หมายถึ ง การค้นหาใหห้พบหรือให้ำด้ความรู้ ข้อมูล สารสนเทศ ที่ต้องการและทำให้ความรู้นั้นเข้ามาอยู่ในตัวมนุษย์
เพื่อนำความรู้มาใช้ประโยชน์
การแสวงหาความรู้เพื่อประโยชน์ส่วนตัว
การแสวงหาความรู้เพื่อบุคคลอื่นหรือเพื่อประโยชน์สาธารณะ
เพื่อสนองความอยากรู้อยากเห็น
วิธีการแสวงหาความรู้
การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่ในชุมนมาปรับให้ใช้ตอบสนองกลุ่มเป้าหมาย
การต่อยอดภูมิปัญญาท้องถื่น
การแสวงหาความรู้ใหม่
การพัฒนาความรู้ขึ้นใหม่
การถ่ายโอน และการถ่ายทอดความรู้
หมายถึง การทำให้ความรู้หรือองค์ความรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งขยายไปสู่แหล่งใหม่ๆ ในลักษณะการขยายจากคนสู่คน โดยอาศัยกระบวนการหรือวิธีการที่ตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตามจากการมีปฎิสัมพันธ์กันในรูปแบบต่างๆ
ความหมาย ความสำคัญของความรู้
ความรู้มาจากการจัดระบบและตีความสารสนเทศตามบริบทและสารสนเทศก็มาจากการประมวลผลข้อมูล
ความรู้เชิงทฤษฏี
ความรู้เชิงปฎิบัติและเชิงบริบท
ความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล
ความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ
ความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร เป็นการทำงานอยู่บนพื้นฐานความรู้ ซึ่งมีการจัดการความรู้ที่นำมาช่วยพัฒนาคนที่จะไปทำงานกับเกษตรกรและพัฒนาเกษตรกรเป้าหมาย
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การสร้างและการยกระดับความรู้
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่นำไปสู่การขัดเกลาทางสังคม
การสกัดความรู้ออกจากตัวคน
การผนวกความรู้ชัดแจ้งเข้าด้วยกัน
การฝังหรือผนึกความรู้ในตน
ขั้นตอนการสร้างความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ข้อมูล
สารสนเทศ
ความรู้
กระบวนการและวิธีจัดการความรู้
กระบวนการจัดการความรู้ เป็นการบริหารจัดการ เพื่อนำความรู้จากแหล่งขความรู้ไปให้ผู้ใช้ เพื่อทำให้เกิดการปรับปรุงพัฒนาแะเกิดนวัตกรรมในการพัฒนาเกษตรกรเป้าหมาย กลุ่มและชุมชน
การจัดหาความรู้จากแหล่งความรู้ต่างๆ
การบ่งชี้ความรู้
การสร้างและแสวงหาความรู้
การจัดองค์ความรู้ให้เป็นระบบ
การประมวลและกลั่นกรองความรู้
การเข้าถึงความรู้
การแบ่งปันความรู้
การใช้หรือเผยแพร่ความรู็
วิธีการในการจัดการความรู้
การทำฐานข้อมูล
การใช้เทคนิคการเล่าเรื่อง
การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน
ระบบพี่เลี้ยง
กรประชุมระดมสมอง
ชุมชนนักปฏิบัติ
ความหมาย หลักการและองค์ประกอบในการจัดการความรู้
หมายถึง เป็นกระบวนการที่ดำเนินการร่วมกันโดยผู้ปฎิบัติงานในองค์กรหรือหน่วยงานย่อยขององ์กร เพื่อสร้างและใช้ความรู้ในการทำงานของบุคคลและองค์กรให้เกิดประโยชน์สูงสุดเพื่ผลสัมฤทธิ์ดีขึ้นกว่าเดิม
เป้าหมายการจัดการความรู้
เพื่อพัฒนากรส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เพื่อพัฒนาคน
เพื่อพัฒนา "{ฐานความรู้"ของการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เพื่อพัฒนาความเป็นชุมชน
หลักการจัดการความรู้
องค์ประกอบของการจัดการความรู้
คน
เกษตรกรเป้าหมาย
นักส่งเสริมในพื้นที่
กระบวนการความรู้
ดทคโนโลยี
การดำเนินการแบบบูรณาการ
การบูรณาการเชิงเนื้อหา
การบูรณาการเชิงวิธีการ
การทำงานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ของสมาชิกที่หลากหลายทักษะ และหลายวิธีการคิด
ทดลองและเรียนรู้
การเรียนรู้เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
นำเข้าความรู้จากภายนอกมาปรับใช้อย่างเหมาะสมและให้สอดคล้องกับระบบเดิมที่มีอยู่
การผลิตที่ใช้ภูมิปัญญาบนฐานทรัพยากรที่มีในท้องถิ่น
ร่วมพัฒนาวิธีการทำงานเพื่อส่งเสริมและพัฒนาการเกษ๖รในรูปแบบใหม่ๆ