Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจูงใจ(Motivation) - Coggle Diagram
การจูงใจ(Motivation)
ทฤษฎีการจูงใจที่เน้นเนื้อหา (Content Theories of Motivation)
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมาสโลว์ (Maslow Theory)
Self-actualization
Exteem
Love and belonging
safety need
Physiological needs
ทฤษฎีอีอาร์จีของอัลเดอเฟอร์ (Alderfer's ERG Theory) : จัดลำดับต้องการเป็น 3 ลำดับ
ความต้องการเพื่อการดำรงอยู่ (Existence Needs)
ความต้องการด้านความสัมพันธ์ (Relatedness Needs)
ความต้องการการเติบโต (Growth Needs)
การเปรียบเทียบ
ทฤษฎีอีอาร์จีไม่ใช่ลำดับขั้นที่ตายตัว ไม่จำเป็นที่ความต้องการระดับต่ำกว่าจะต้องได้รับการตอบสนองก่อนจึงจะเกิดความต้องการในระดับถัดไป แต่ทฤษฏีลำดับความต้องการของมาสโลว์เป็นลำดับขั้นที่ตายตัว จำเป็นที่ความต้องการระดับต่ำกว่าจะต้องได้รับการตอบสนองก่อนจึงจะเกิดความต้องการในระดับถัดไปได้
ทฤษฎีอีอาร์จีความต้องการอาจมีการย้อนกลับลงมาในระดับต่ำกว่าได้ แต่ทฤษฏีลำดับความต้องการของมาสโลว์เมื่อได้รับการตอบสนองแล้วจะขยับสูงขึ้นไปอย่างเดียว ไม่สามารถย้อนกลับไปมาได้
ทฤษฎีความต้องการของแมคแคล็ลแลนด์ (McClelland's Theory of Need) : มีการใช้เครื่องมือทดสอบบุคลิกภาพ(Thematic Apperception Test)
1.ความต้องการความสำเร็จ (Need for Achievement)
ชอบแก้ปัญหา
ตั้งเป้าหมายที่สูง
มีข้อมูลย้อนกลับเพื่อปรับปรุงผลงานให้ดีขึ้น
2.ความต้องการความรักใครผูกผัน (Need for Affiliation)
อยากสร้างสังคมกับผู้อื่น
ให้ความสำคัญในการสร้างและรักษาความสัมพันธ์
3.ความต้องการมีอำนาจ (Need for Power)
อยากได้และอยากใช้อำนาจ
ชอบโน้มน้าวชี้นำผู้อื่น
อยากควบคุมและต้องการชนะในการโต้แย้ง
ทฤษฎีสองปัจจัยของเฮอร์ซเบอร์ก (Herzber's Two-factor Theory)
ปัจจัยรักษา(Hygiene Factors ) : ปัจจัยที่ตอบสนองความต้องการภายนอก
การบังคับบัญชา
ความมั่นคงในงาน
สภาพการทำงาน
ปัจจัยจูงใจ (Motivators) : ปัจจัยที่สร้างแรงจูงใจภายใน
ความก้าวหน้า
ความสำเร็จ
ทฤษฎีการจูงใจที่เน้นกระบวนการ (Process Theories of Motivation)
ทฤษฎีความคาดหวัง (Expectany Theory)
แรงจูงใจ = ความคาดหวังถึงความสำเร็จ(E) x ความสำเร็จของงาน(I) x คุณค่าของผลลัพธ์(V)
2.การเป็นเครื่องมือ (Instrumentality) : ผลงานที่จะนำไปสู่ผลลัพธ์หรือรางวัล
1.ความคาดหวัง (Expectancy) : ความคาดหวังว่าความพยายามจะนำไปสู่ความสำเร็จ
3.คุณค่า (Valence) : คุณค่าที่บุคคลให้กับผลลัพธ์
ทฤษฎีความเท่าเทียม (Equity Theory)
สิ่งที่ใส่เข้าไป (Input)
ความสามารถ
ประสบการณ์
สิ่งที่ได้รับมา (Outcome)
ค่าตอบแทน
โบนัส
รู้สึกไม่ได้รับความยุติธรรมเท่าเทียมน้อยกว่า(Negative Equity)
ขอเพิ่มสิ่งที่ได้รับกลับมา
เปลี่ยนมุมมอง
เปลี่ยนคนที่ปรับใช้
ลดสิ่งที่ใส่เข้าไป
รู้สึกได้รับความยุติธรรมเท่าเทียมากกว่า(PositiveEquity)
เคยชิน
ทฤษฎีการตั้งเป้าหมาย (Goal Setting Theory)
เป้าหมายที่ดีเป็นสื่อจูงใจคน
1.เป้าหมายที่ยาก (Goal Diffculty)
2.เป้าหมายที่เฉพาะเจาะจง (Goal Specialty)
3.เป้าหมายที่วัดได้ (Measurable)
4.เป้าหมายที่ถูกจำกัดด้วยระยะเวลาทำงาน (Timeframe)
5.การได้รับข้อมูลย้อนกลับ(Feedback)
ทฤษฎีเสริมแรง (Reinforcement Theory)
การเสริมแรงทำได้ 4วิธี
1.การเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement) :การให้รางวัล
แบบช่วงเวลาตายตัว(Fixed-interval Schedule)
แบบอัตราเวลาตายตัว (Fixed-ration Schedule)
แบบช่วงเวลาไม่ตายตัว (Variable-interval Schedule)
แบบอัตราไม่ตายตัว (Variable-ratio Schedule)
2.การเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement)
3.การลงโทษ(Punishment) :การลดพฤติกรรมโดยใช้ผลที่ตามาในสิ่งที่ไม่ชอบ
4.การหยุด(Extinction) :ลดพฤติกรรมโดยการหยุดหรือเลิกให้ผลตามมาในสิ่งที่ชอบ
กลยุทธ์การจูงใจ
การบริหารรางวัลและผลตอบแทน
การให้อำนาจและการมีส่วนร่วม
การทำงานเป็นทีม
การสร้างสมดุลในชีวิต
คือ การผลักดันให้เกิดการกระทำในทิศทางที่ต้องการด้วยใจ
ทิศทางของการกระทำ (Direction)
การใช้แรงพยายาม (Intensity)
ความต่อเนื่องในการกระทำ (Persistence)