Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
1 91723 การวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle Diagram
1 91723 การวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย ประโยชน์และประเภทของการวิจัย
หมายถึง งานวิจัยด้านต่างๆซึ่งมีเป้าหมายที่จะนำผลงานวิจัยไปใช้ในการนำการเปลี่ยนแปลง หรือการนำคำตอบไปสู่เกษตรกรหรือชุมชน
ประโยชน์
ให้ความรู้หรือวิทยาการใหม่
ช่วยแก้ปัญหาข้อขัดข้องของผู้วิจัยหรือผู้เกี่ยวข้อง
ช่วยพัฒนาระบบบริหาร
เผยแพร่ชื่อเสียงของผู้วิจัย
ประเภทของการวิจัย
เกณฑ์ที่อิงจุดมุ่งหมายของการวิจัย จำแนกประเภทการวิจัยออกเป็น การวิจัยบริสุทธิ์ กับ การวิจัยประยุกต์
เกณฑ์ที่อิงการควบคุมตัวแปร
ลักษณะและประเด็นการวิจัย
ลักษณะการวิจัย
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ
การวิจัยเชิงศึกษาเฉพาะกรณี
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
ประเด็นการวิจัย
การวิจัยทางการเกษตร
การวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีการกษ๖รและการปรับใช้
การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี
การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาการเกษตร
การวิจัยด้านอื่นๆ
ความสัมพันธ์ระหว่างการวิจัยกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ส่วนแรก การวิจัย
ส่วนที่ 2 การส่งเสริมและพัฒนา
การพัฒนาความสามารถในการวิจัยของนักส่งเสริม
การฝึกอบรม
การศึกษาในสถาบันการศึกษา
การแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้รู้
การลงมือทำวิจัยเมื่อมีโอกาส
จรรยาบรรณของนักวิจัย
กระบวนการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การกำหนดโจทย์การวิจัย
แหล่งที่มาของโจทย์การวิจัย
แนวทางในการกำหนดโจทย์การวิจัย
การกำหนดหัวข้อการวิจัย ชื่อเรื่องการวิจัย และประเด็นสำหรับการวิจัย
การกำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ทำให้ผู้วิจัยเกิดความชัดเจนว่าต้องการศึกษาอะไรบ้างเกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ
ทำให้ผู้วิจัยทราบว่าจะต้องเก็บข้อมูลที่สำคัญในเรื่องอะไรบ้าง
ทำให้ผู้อ่านรายงานผลการวิจัยสามารถติดตามและประเมินผลของการวิจัยได้
การออกแบบการวิจัย หมายถึง การกำหนดแผน โครงสร้าง และกลยุทธ์ที่จะใช้ในการศึกษาวิจัยเพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบ หรือข้อความรู้ตามปัญหาการวิจัยที่กำหนดไว้
การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
การกำหนดตัวแปรและสมมติฐาน
การกำหนดเครื่องมือการวิจัย
การกำหนวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การกำหนดวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
การจัดทำโครงการวิจัย
ชื่อเรื่องที่จะวิจัย
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
สมมติฐานการวิจัย
ขอบเขตการวิจัย
นิยามศัพท์
ระเบียบวิธีวิจัย
ระยะเวลาการดำเนินการวิจัย
แผนการดำเนินการ
ขั้นดำเนินการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การสร้างเครื่องมือ
กำหนดข้อมูลที่ต้องการ
กำหนดรูปแบบของคำถามที่จะใช้
ร่างแบบสอบถาม
ตรวจสอบเพื่อแก้ไขปรับปรุง
จัดทำบรรณาธิการ
ทดลองใช้
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
การเตรียมและตรวจสอบข้อมูลเพื่อวิเคราะห์
การประมวลและวิเคราะห์ข้อมูล
ระดับการวัดตัวแปร
การเลือกใช้สถิติ
การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นสรุปและรายงานผลการวิจัย
ข้อเสนอแนะ
การอภิปรายผล
การสรุปผลการวิจัย
การจัดทำรายงานผลการวิจัย
ประโยชน์ของการเขียนผลการวิจัย
ประเภทของรายงานผลการวิจัย
หลักการเขียนรายงานผลการวิจัย
ส่วนประกอบของรายงานผลการวิจัย
ส่วนนำ
ส่วนเนื้อหา
ส่วนอ้างอิง
ข้อควรคำนึง
การอ้างอิง
ความเป็นจริง
ความสำคัญ
ความต่อเนื่อง
ความชัดเจน
ความถูกต้องและครบถ้วน
การเผยแพร่และนำผลงานวิจัยไปใช้ในการส่งเสริมการเกษตร
การเผยแพร่ผลงานวิจัย
การประเมินคุณภาพงานวิจัย
เพื่อการวินิจฉัย
เพื่อการคัดเลือก
เพื่อการสรุปผล
การเผยแพร่ผลงานวิจัย
ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
ด้วยการนำเสนอในที่ประชุมวิชาการ
การนำผลงานวิจัยไปใช้ในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การนำผลงานวิจัยไปใช้ในการกำหนดนโยบาย
การนำผลงานวิจัยไปใช้ในการกำหนดนโยบายหลัก
การนำผลงานวิจัยไปใช้ในการกำหนดนโยบายการบริหาร
การนำผลงานวิจัยไปใช้ในการกำหนดนโยบายการเฉพาะกิจ
การนำผลงานวิจัยไปใช้ในการวางแผน
การนำผลการวิจัยไปใช้ในกระบวนการวางแผน
การนำผลการวิจัยไปใช้ในการนำผนไปปฏิบัติ
การนำผลงานวิจัยไปใช้ในการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
การพัฒนางาน
พัฒนานักส่งเสริม และองค์กร
พัฒนาเกษตรกร และชุมชน
การวิจัยเพื่อพัฒนางานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การพัฒนางาน หมายถึง การดำเนินการใด ๆ ที่มีจุดมุ่งหมายให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการดำเนินงานโดยการปรับปรุงวิธีการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน
ขอบเขตของการวิจัยเพื่อพัฒนางาน
การวิจัยการบริหารการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวิจัยเพื่อสร้างสรรค์งาน
การวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการทำงาน
การวิจัยเพื่อติดตาม ประเมินปลงาน และผลปฏิบัติงาน
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R) Routine to Research
ปัญหางานวิจัยมาจากงานประจำ
ใช้ระเบียบวิจัย
เกิดมป็นองค์ความรู้ใหม่
นำผลการวิจัยมาพัฒนางานของตนเอง
มีผลต่อการพัฒนาตนเองและพัฒนางาน
ความสำคัญ
เป็นจุดเริ่มต้นในการค้นหาหัวข้อการวิจัย
ผู้วิจัยมีความรู้และประสบการณ์ในเรื่องที่จะวิจัย
ประโยชน์ของการพัฒนางานสู่งานวิจัย
ช่วยในการแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงาน
เป็นตัวแบบในการปฏิบัติงานและพัฒนาหางานสู่การวิจัยได้
องค์ประกอบที่สำคัญ
โจทย์วิจัย R2R
ผู้วิจัย
ผลลัพธ์ของงานวิจัย
การนำผลการวิจัยไปใช้
ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
ผู้วิจัย
ผู้อำนวยความสะดวกต่อกิจกรรม R2R
ผูู้บริหาร
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI)
เป็นการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และความคิดสร้างสรรค์ในการปรับปรุงระบบงานเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ
ขั้นตอน
วางแผน
ปฏิบัติ
วัดผล
นำไปใช้
กระบวนการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเตรียมการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การกำหนดปัญหา โจทย์ หัวข้อวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แหล่งที่มาของปัญหาการวิจัย
แนวทางในการกำหนดปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อการวิจัย ชื่อเรื่องการวิจัยและประเด็นสำหรับการวิจัย
การกำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัย
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
การกำหนดกรอบแนวคิดการวิจัย
การออกแบบการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การดำเนินการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การสร้างเครื่องมือวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การกำหนดข้อมูลที่ต้องการ
กำหนดรูปแบบของคำถามที่จะใช้
ร่างแบบสอบถาม
ตรวจสอบเพื่อแก้ไขปรับปรุง
จัดทำบรรณาธิการ
ทดลองใช้
การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
การสุ่มตัวอย่าง
การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
การรายงานและนำผลการวิจัยไปใช้เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การจัดทำรายงานผลการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเสนอผลการวิจัย
การอภิปรายผลการวิจัย
การสรุปและเสนอแนะ
การเขียนบทคัดย่อ
การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การจัดทำโครงการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเขียนโครงการวิจัยที่ดี
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี