Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทของสตรีไทยในประวัติศาสตร์ไทย - Coggle Diagram
บทบาทของสตรีไทยในประวัติศาสตร์ไทย
ช่วงเวลานับแต่มีการบันทึกหลักฐานมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
บทบาททางการเมือง
บทบาทด้านการปกครอง
นางจามเทวี
พระนางและพระราชวงศ์ได้ให้ความอุปถัมภ์ทำนุบำรุงกิจการทางพระพุทธศาสนาดังปรากฏหลักฐานคือ ศาสนสถานต่างๆ ในเมืองลำพูนที่ยังคงอยู่ถึงปัจจุบัน
พระนางมหาเทวีสุโขทัย
จารึกสมัยสุโขทัยและตำนานชินกาลมาลีปกรณ์ได้ปรากฏพระนามของพระน้องนางในพระมหาธรรมราชาที่ 1 ที่มีบทบาทในการปกครองสุโขทัยในระหว่างที่พระมหาธรรมราชาที่ 1 ลิไทปกครองเมืองสรลวงสองแควนอกจากนี้พระนางยังทรงอยู่ในฐานะพระเทวีของขุนหลวงพะงั่วด้วย
พระมหาเทวีล้านนา
มหาเทวีโลกจุลกะเทวี
ที่สามารถผลักกันพระราชโอรสคือ พระเจ้าสามฝั่งแกน ขึ้นเป็นกษัตริย์ปกครองเมืองเชียงใหม่ในขณะที่มีพระชนมายุได้ยัง 13 พรรษา
พระมหาเทวี ชนนีของพระเจ้าติโลกราช
พระนางทรงบทบาททางการเมืองร่วมกับพระราชโอรสทั้งยังคุมกองทัพ - เมืองแพร่เป็นการช่วยพระราชโอรสขยายอำนาจของล้านนา
พระนางมหาเทวีจิรประภา พระมเหสีของพระเมืองเกษเกล้า
ได้รับการอัญเชิญจากท้าวพญาขึ้นครองเมืองเชียงใหม่เนื่องจากภาวะวิกฤตจากการแตกแยกภายในและการตามจากภายนอกด้วยพระปรีชาสามารถพระนางสามารถนำพาบ้านเมืองให้รอดพ้นจากภัยต่างๆโดยเฉพาะครั้งพี่สมเด็จพระไชยราชาธิราชนำกองทัพกรุงศรีอยุธยาขึ้นมารุกราน
พระมหาเทวีวิสุทธิเทวี
พระเจ้าทรงหงสาวดีบุเรงนองได้สถาปนาพระนางขึ้นเป็นกษัตริย์ปกครองเมืองเชียงใหม่ในช่วงที่เชียงใหม่ตกอยู่ในฐานะประเทศราชของพม่า
แม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์
พระสนมเอกในสมเด็จพระไชยราชาธิราชแห่งกรุงศรีอยุธยาพระนางได้ขึ้นดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนของพระยอดฟ้าพระราชโอรสที่ยังเป็นยุวกษัตริย์ออกมาหลังจากพระยอดฟ้าพระพุทธนั่งได้ขึ้นปกครองกรุงศรีอยุธยาควบคู่ขุนวรวงศาธิราชวันใหม่ จากขาดฐานอำนาจสนับสนุนเป็นที่ยอมรับของข้าราชสำนักที่ถูกยึดอำนาจ
กรมหลวงโยธาเทพ(เจ้าฟ้าสีสุพรรณ)
พระองค์ทรงอิทธิพลอำนาจสิทธิ์ขาดปกครองดูแลราชสำนักฝ่ายในและอาจมีอิทธิพลมาถึงฝ่ายหน้าโดยผ่านทางภริยาของขุนนางผู้ใหญ่ อนึ่งในสมัยรัตนโกสินทร์ยังเจ้านายจักรีที่มีบทบาทสูงสุดท้ายด้านการบริหารอีก 3 พระองค์ คือ
สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรีพระบรมราชินีนาถพระอัครมเหสีในรัชกาลที่ 5
ได้ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในระหว่างรัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสยุโรปเมื่อพ.ศ. 2440
ในสมัยรัชกาลที่ 9 สมเด็จพระนางสิริกิติ์พระบรมราชินีพระบรมราชชนนีพันปีหลวง
ทรงดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์เมื่อครั้งที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตรทรงผนวชและ
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชนนี
ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อคราวพระสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตรเสด็จเยือนต่างประเทศ
บทบาทในด้านการรบและการทำสงคราม
สตรีสูงศักดิ์แห่งล้านนา
พระมหาเทวีผู้เป็นชนนีของพระเจ้าติโลกราช เเละชนนีของเจ้าหาญเเต่ท้องซึ่งเป็นชายาของเจ้าเมืองเชียงชื่นได้นำไพร่พลต่อสู้กับข้าศึกทั้งๆที่กำลังตั้งครรภ์อยู่
สมเด็จพระสุริโยทัย
พระมเหสีในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระองค์ได้โดยเสด็จพระสวามีในป้องกันบ้านเมือง พระสุริโยทัยเกรงว่าพระสวามีจะเป็นอันตรายคือไสช้างขวางไว้จึงถูกพระเจ้าแปรฟันด้วยพระแสงของ้าว
เจ้าศรีอโนชา
เจ้าสีอโนชารวบรวมบริวารปกป้องครอบครัวและช่วยเหลือพระยาสุริยอภัย ป้องกันวุ่นวายในกรุงธนบุรี รวมทั้งร่วมมือกับ พระยาเจ่ง พระยาราม นายกองมอญแต่งทัพเรือเข้าช่วยปราบกบฏแตกพ่ายหนีไฟ
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
ปรากฏวีรกรรมของคุณหญิงจันภรรยาของพญาถลางเเละคุณมุกน้องสาว บทบาทของสตรีทั้ง 2 คือนำประชาชนต่อต้านพม่าที่มาตีเมืองถลางในคราวสงครามเก้าทัพจนได้รับชัยชนะ
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ปรากฏบทบาทของ คุณหญิงโมภรรยาพระเจ้าปลัดเมืองนครราชสีมา มีการวางแผนและต่อสู้กับกองทัพเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์คุณโมได้รับบำเหน็จแต่งตั้งให้ “ท้าวสุรนารี”
บทบาทในการเสริมสร้างสัมพันธไมตรีทางเครือญาติ
การเสริมสร้างสัมพันธไมตรี
นโยบายนี้คือการสร้างความเป็นเครือญาติทั้งในและนอกราชอาณาจักร
การแสวงหาพันธมิตร
เช่น ในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิได้มีการเจริญสัมพันธไมตรีกับกรุงศรีสัตนาคนหุตล้านช้าง ทรงพระราชทานพระเทพกษัตรีเเละพระเเก้วฟ้าให้ไปอภิเษกกับสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช พระเจ้ารุ่งล้านช้าง ถึงแม้การอภิเษกจะถูกขัดขวางจากพม่าแต่อาณาจักรทั้งสองยังคงไมตรีต่อกัน
เมื่อตกอยู่ใต้อำนาจอาณาจักรอื่น
การสร้างสัมพันธไมตรีจะเป็นการถวายพระราชธิดาเพื่อแสดงถึงความจงรักภักดี เช่น กรณีสมเด็จพระมหาธรรมราชายกพระสุพรรณกัลยาพระเจ้ากรุงหงสาวดีบุเรงนอง เจ้าอินทวงศ์เจ้านครเวียงจันทน์ถวายพระราชธิดาเจ้านางทองสุขเป็นพระสนมในรัชกาลที่ 1 พระเจ้ากินทวิตชญานนท์เจ้านครเชียงใหม่ถวายพระราชธิดาเจ้าดารารัศมีเป็นพระราชชายาในรัชกาลที่ 5
การเปลี่ยนผู้นำ
การสร้างความผูกพันในระบบเครือญาติผ่านการแต่งงานของสตรีนั้นยังเป็นที่นิยมของกลุ่มขุนนางด้วยโดยเฉพาะตระกูลที่รับราชการตำแหน่งสำคัญๆ เพื่อรักษาสถานภาพและอำนาจต่อเนื่องบางสกุลยังได้สร้างสายสัมพันธ์ทางเครือญาติกับราชสำนักโดยถวายตรีในสกุลเข้ารับราชการฝ่ายในกำลังเรามีบทบาทและอำนาจมากขึ้น
บทบาททางสังคม
ด้านการศึกษา
เจ้าฟ้าพินทวดี
พระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงรอบรู้เชี่ยวชาญในขนบธรรมเนียมโบราณราชประเพณีพระองค์ทรงเป็นกำลังสำคัญในการจัดทำตำราโบราณราชภัฏพระเรียบเรียงขึ้นใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 1
พระองค์เจ้าบุตรี (เจ้าฟ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงวรเสรฐสุดา)
พระราชธิดาในรัชกาลได้รับการยอมรับว่ามีความเชี่ยวชาญและแตกฉาน รอบรู้ในวิชาการต่างๆ เช่นตำนาน โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน โบราณราชประเพณี วิชาเลขอย่างไทย และวิชาดาราศาสตร์ พระองค์ทรงเป็นพระอาจารย์สอนวิชาความรู้เบื้องต้นให้บรรดาพระราชโอรสและพระราชธิดาในรัชกาลที่ 4
ด้านวรรณกรรม
ดอกฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎ
พระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศญี่ปุ่นบทละครเรื่องดาหลัง(อิเหนาใหญ่)และอิเหนา(อิเหนาเล็ก)โดยนำโครงร่างของชวามาดัดแปลงใหม่ให้เป็นกลอนบทละครไทยบทละครอิเหนาได้รับความนิยมแพร่หลายต่อมาจนถึงสมัยธนบุรีและสมัยรัตนโกสินทร์โดยเฉพาะในสมัยรัชกาลที่ 2
พระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้ากรมหลวงนรินทรเทวี
พระขนิษฐาในพระบาทสมเด็จพระพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงนิพนธ์จดหมายเหตุความทรงจำบันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ตั้งแต่กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าในพ.ศ 2310 จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามณฑา พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุบล
พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชคนประมาณคำฉันท์สมเด็จพระเจ้าบรมวงกรมพระยาดํารงราชานุภาพรับสั่งถึงหนังสือเล่มหรือว่าเป็นตัวอย่างที่แสดงว่าปีไทยโดยเฉพาะราชสกุลคือการศึกษาที่รุ่งเรืองมาแต่โบราณ
คุณพุ่ม (บุษบาท่าเรือจ้าง) และคุณสุวรรณ
ข้าราชการฝ่ายในในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมีชื่อเสียงได้รับยกย่องว่าเป็นกวีหญิงคุณพุ่ม ได้แก่ เพลงยาวบวงสรวงสระน้ำที่บางโขมด เพลงยาวเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ผลงานของคุณสุวรรณ ได้แก่ อุณรุทร้อยเรื่อง พระมะเหลเถไถ เพลงยาวกรมหมื่นอัปสรสุดาเทพทรงพระประชวร
สมัยรัชกาลที่ 5 ถึงสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2
กลุ่มพระมเหสีเทวีของรัชกาลที่ 5
สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ
ด้านการศึกษา
พระองค์ได้ทรงบริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จัดตั้ง โรงเรียนสตรีขึ้นหลายเเห่งทั้งในกรุงเทพฯ เเละหัวเมือง
ด้านสาธารณสุขและการแพทย์
พระองค์ทรงสนับสนุนให้สตรีไทยใช้วิธีการคลอดแบบตะวันตกมีการก่อตั้งโรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์ขึ้นในโรงพยาบาลศิริราชเพื่อผลิตนางพยาบาลผดุงครรภ์สำหรับการคลอดแบบใหม่
ด้านการปกครอง
เมื่อครั้งรัชสมัยราชกาลที่ 5 พระองค์ได้รับการสถาปนาเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแสดงถึงความไว้วางพระราชหฤทัยในพระปรีชาสามารถ
สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนาพระบรมราชเทวี
พระราชกรณียกิจสำคัญของพระองค์คือ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในหัวเมือง เช่น การจัดตั้งโรงพยาบาลสมเด็จ ณ ศรีราชา การสอนอาชีพโดยเฉพาะการทอผ้ายังทรงนำช่างพอมาเปิดโรงทอผ้าในพระราชวังดุสิต
สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี
พระองค์ทรงเเชี่ยวชาญด้านอักษรศาสตร์ได้รับความไว้วางพระราชทานจากรัชกาลที่ 5 ให้ดำรงตำแหน่ง ราชเลขานุการฝ่ายในและยังงานพระนิพนธ์”สุขุมาลนิพนธ์” รวมบทร้อยกรองส่วนพระองค์ที่แสดงถึง อุปนิสัยและพระปรีชาสามารถในด้านการศึกษา
พระอัครชายาเธอพระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์
ส่งความเชี่ยวชาญด้านโภชนาการสำนักของพระองค์จึงเป็นแหล่งประสิทธิ์ประสาทวิชาที่สำคัญสำหรับกุลสตรี
พระราชชายาเจ้าดารารัศมี
พระองค์ทรงนำวัฒนธรรมสยามทั้งเก่าและใหม่ไปปรับประยุกต์ใช้ในล้านนาพระราชกรณียกิจสำคัญของพระองค์คือเป็นผู้เชื่อมความสัมพันธ์และวัฒนธรรมของดินแดนทั้งสองให้เป็นเอกภาพ
เจ้าจอมมารดาแพ
บทบาทของท่านส่วนใหญ่จะเป็นการสนองพระราโชบายในการปรับปรุงภาพลักษณ์แก้ไขขนบธรรมเนียมต่างๆ ให้ทันสมัย
กลุ่มสตรีที่ได้รับการศึกษาเเผนใหม่
ด้านการแพทย์เเละสังคมสงเคราะห์
หม่อมเจ้าหญิงมัณฑารพ กมลาศน์
ท่านหญิงได้จัดระเบียบแบบแผนการรักษาพยาบาลและรับมาตรฐานการศึกษาให้
เเพทย์หญิง ดร.คุณเพียร เวชบุล
บทบาทโดดเด่นด้านการแพทย์มัน คือ การบำบัดรักษาและป้องกันกามโรคทั้งเเก่บุรุษเเละหญิงขายบริการ
ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม
สังคมสงเคราะห์
การตั้งสโมสรวัฒนธรรมฝ่ายหญิงและจัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสตรีและเยาวชน
ด้านการเมือง
ท่านผู้หญิง พยายามยกสถานภาพของสตรี เช่น สิทธิความเสมอภาคในการดำรงตำแหน่งทางราชการ
ด้านการประกอบอาชีพและกิจกรรมสังคม
หม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล
ท่านหญิงทรงได้รับความรู้และประสบการณ์ตรงจากพระบิดาทำให้ทรงมี ความรอบรู้ในเรื่องกิจการบ้านเมือง เรื่องต่างประเทศ และศิลปะวัฒนธรรมต่างๆ
หม่อมศรีพรหมมา กฤดาการ ( เจ้าศรีพรหมมา ณ น่าน)
ท่านได้เป็นคู่คิดที่ดีของพระสวามีการนำเทคโนโลยีและวิถีชีวิตแบบตะวันตกมาประยุกต์ใช้ในฟาล์มและครอบครัวรวมทั้งเป็นผู้นำพาครอบครัว เมื่อพระสวามีประสบปัญหาการเมืองจนสามารถก้าวล่วงอุปสรรค์ต่างๆไปได้
ท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์
บทบาทของท่านในภริยาเสนาบดีในสมัยรัชกาลที่ 5 ท่านได้มีส่วนสนับสนุนการพัฒนาสถานภาพของสตรีในพระราชดำริของสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ
ท่านผู้หญิงตลับ สุขุม
ท่านเป็นตัวแทนของสตรีในยุคหัวเลี้ยวหัวต่อของการเปลี่ยนแปลงที่สามารถปรับตัวเข้าสู่การสมาคมระดับสูงในวงการพูดของอังกฤษ ท่านได้นำประสบการณ์นั้นมาช่วยในการพัฒนาสถานภาพของสตรีไทยในกรุงเทพฯและหัวเมือง
กลุ่มสตรีที่ประกอบอาชีพด้านกฎหมาย
สตรีกลุ่มนี้นับว่ามีบทบาทสำคัญในการดำเนินการเรียกร้องสิทธิสตรีและยกระดับสถานภาพให้ทัดเทียมบุรุษ
กลุ่มสตรีที่ประกอบอาชีพด้านการศึกษา
บุคลากรก็ยังคุณประโยชน์สั่งสอนอบรมเยาวชนใหญ่อย่างมีคุณค่าและมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศชาติจนความมั่นคง สตรีบางท่านยังเข้าไปมีบทบาทใน วงการหนังสือพิมพ์
สตรีจากราชสกุลกุญชร
บทบาทสำคัญ คือ ด้านการศึกษาโดยเฉพาะด้านภาษาศาสตร์และงานวิจัยเกี่ยวกับตระกูลภาษาไทย วรรณคดีไทย
หม่อมหลวงพวงร้อย (สนิทวงศ์) อภัยวงศ์
ท่านมีความโดดเด่นด้านดนตรีและได้ประพันธ์บทเพลงที่ไพเราะและทรงคุณค่าไว้มากกว่า 120 เพลงทั้งเพลงเทิดพระเกียรติ เพลงปลุกใจ และเพลงประกอบละคร ที่เป็นเพลงอมตะ คือ เพลงบัวขาว เงาไม้