Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทของสตรีในประวัติศาสตร์ไทย - Coggle Diagram
บทบาทของสตรีในประวัติศาสตร์ไทย
สมัยรัชกาลที่ ๕ ถึงสงครามโลกครั้งที่ ๒
กลุ่มพระมเหสีเทวีของรัชกาลที่ 5
สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ
ประกาศใช้พระราชบัญญัติสำคัญหลายๆฉบับ
บริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จัดโรงเรียนสตรีขึ้น
ก่อตั้งโรงเรียนการแพทย์ผดุงครรภ์ขึ้นในโรงพยาบาลศิริราช
สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี
พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในหัวเมือง
เช่นการจัดตั้งโรงพยาบาลสมเด็จ
ทรงสร้างโรงเรียนราชินีบน
โครงการแพทย์อาสาสมัครและโรงเรียนเด็กชาวเขา
สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี ทรงพระนิพนธ์สุขุมาลนิพนธ์ จัดให้วังบางขุนพรหมเป็นแหล่งศึกษาที่ทันสมัย
พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ มีความเชี่ยวชาญด้านโภชนาการ โปรดให้จัดพิมพ์หนังสือที่มีคุณค่าในด้านต่างๆ พระราชทรัพย์จัดสร้างโรงเรียนเด็กกำพร้า
กลุ่มสตรีที่ได้รับการศึกษาแผนใหม่
ด้านการแพทย์และสังคมสงเคราะห์
หม่อมเจ้าหญิงมัณฑารพ กมลาศน์ จัดระเบียบแบบแผนการรักษาพยาบาล และปรับการศึกษาแห่งสมัย
แพทย์หญิง ดร.คุณเพียร เวชบุล บำบัดรักษาและป้องกันกามโรคทั้งแก่บุรุษและหญิงขายบริการ ช่วยเหลือสตรีที่ประสบปัญหาชีวิตครอบครัว ก่อตั้งสถานเลี้ยงเด็กกำพร้า
ท่านผู้หญิงละเอียดพิบูลสงคราม จัดตั้งสโมสรวัฒนธรรม หญิง ก่อตั้งโรงเรียน และส่งเสริมสิทธิความเสมอภาคในการดำรงตำแหน่งราชการ
ด้านการประกอบอาชีพและกิจกรรมสังคม
หม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล ทรงมีส่วนร่วมก่อตั้งองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก
หม่อมศรีพรหมา กฤดากร นำเทคโนโลยีและวิถีชีวิตแบบตะวันตกมาประยุกต์ใช้ในฟาร์มและครอบครัว
ท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์ ก่อตั้งสภาอุณาโลมแดง และจัดพิมพ์ตำรา แม่ครัวหัวป่าก์
ท่านผู้หญิงตลับ สุขุม เป็นตัวแทนของสตรีในยุคหัวเลี้ยวหัวต่อของการเปลี่ยนแปลงที่สามารถปรับตัวเข้าสู่การสมาคมราบสูงในวงการพูดของอังกฤษ ทพัฒนาสถานภาพของสตรีไทย เช่นพัฒนาการศึกษาของสตรี
กลุ่มสตรีที่ประกอบอาชีพด้านกฎหมาย
มีบทบาทสำคัญในการดำเนินการเรียกร้องสิทธิสตรีและยกระดับสถานภาพให้ทัดเทียมบุรุษ
เช่นคุณหญิงแร่ม พรหโมบล คุณหญิงสุพัตรา สิงหลกะ
กลุ่มสตรีที่ประกอบอาชีพด้านการศึกษา
มีทั้งการศึกษาจากในและต่างประเทศ เข้ามาประกอบอาชีพครูทั้งในระดับทุกระดับ
บำเพ็ญคุณประโยชน์แก่สตรีให้เติบใหญ่อย่างมีคุณค่า
มีบทบาทในการพัฒนาประเทศจนมีความมั่นคง
สตรีจากราชสกุลกุญชร
หม่อมหลวงบุปผา (กุญชร) นิมมานเหมินท์ มีผลงานการเขียนนวนิยาย ที่เป็นวรรณกรรมทรงคุณค่า
หม่อมหลวงบุญเหลือ (กุญชร) เทพยสุวรรณ มีผลงานด้านภาษาศาสตร์และงานวิจัยเกี่ยวกับตระกูลภาษาไทย
หม่อมหลวงพวงร้อย (สนิทวงศ์) อภัยวงศ์ มีความโดดเด่นด้านดนตรีและประพันธ์บทเพลงที่ไพเราะและทรงคุณค่ามากกว่า 120 เช่น เพลงสถาบัน
ช่วงเวลานับแต่มีการบันทึกหลักฐานมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
บทบาททางการเมือง
บทบาทด้านการรบและการทำสงคราม
สตรีสูงศักดิ์แห่งล้านนาเจ้านายสตรีได้มีบทบาทในการรบเพื่อปกป้องบ้านเมืองและช่วยแผ่ขยายอำนาจ
สมเด็จพระสุริโยทัย
พระองค์ได้ปกป้องพระมหาจักรพรรดิจากพระเจ้าแปรในสงครามช้างเผือก
เจ้าศรีอโนชา
รวบรวมบริวารปกป้องครอบครัวและช่วยเหลือพระยาสุริยอภัย ป้องกันเหตุวุ่นวายในกรุงธนบุรี
บทบาทด้านการบทบาทด้านการปกครอง
แม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์
พระนางได้ขึ้นดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแผ่นดินของพระยอดฟ้าพระราชโอรส
พระมหาเทวีล้านนา
พระมหาเทสีสุทธิเทวี
พระมหาเทวีจิรประภา
พระมหาเทวีชนนีของพระเจ้าติโลกราช
พระนางมหาเทวีสุโขทัย
จารึกในสมัยสุโขทัยปรากฏว่ามีบทบาทในการปลุกครองเมืองสองแคว และอยู่ในฐานะพระเทวีของคุณหลวงพะงั่วด้วย
พระนางจามเทวี
ปกครองเมืองหาที่ปกครองเมืองหริภุญชัยที่สร้างขึ้นใหม่ในสมัยของพระนางพระนางได้ พระนางได้ให้ความอุปถัมภ์ทำนุบำรุงกิจการทางพระพุทธศาสนาในเมือง
กรมหลวงโยธาเทพ เป็นเจ้านายทรงกรม สามารถจัดเก็บส่วยอากรขนอนตลาด มีเลกสมสังกัด
บทบาทในการเสริมสร้างสัมพันธไมตรีทางเครือญาติ
การเสริมสร้างสัมพันธไมตรี ้เช่น การสมรสในช่วงก่อตั้งรัฐไทยยุคแรก ระหว่างล้านนากับร้าน พระราชทานพระราชทานพระราชธิดา
การแสวงหาพันธมิตร
ในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิได้มีการเจริญสัมพันธไมตรีกับกรุงศรีสัตนาคนหุตล้านช้าง ทรงพระราชทานพระเทพกระษัตรีและพระแก้วฟ้าให้ไปอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช
เมื่อตกอยู่ใต้อำนาจอาณาจักรอื่น จะเป็นการถวายพระราชธิดาเพื่อแสดงความจงรักภักดี
เมื่อมีการเปลี่ยนผู้นำ จะแต่งงานระหว่างผู้นำใหม่และสตรีในราชวงศ์เก่า
บทบาททางสังคม
ด้านการศึกษา
เจ้านายตรี และสตรีสูงศักดิ์ที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องวิชาหนังสือ มีบทบาทเป็นพระอาจารย์สอนหนังสือขั้นพื้นฐาน ได้แก่บรรดาเจ้านาย
เจ้าฟ้าพินทวดี รอบรู้ในขนบธรรมเนียมโบราณราชประเพณี จัดทำตำราโบราณราชประเพณี
ด้านวรรณกรรม
เจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎ ทรงนิพนธ์บทละครเรื่องดาหลัง และอิเหนา
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุ กรมหลวงนรินทรเทวี ทรงนิพนธ์จดหมายเหตุความทรงจำบันทึกเรื่องราวในประวัติศาสตร์
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามณฑา พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุบล นิพนธ์กุมารคำฉันท์
ด้านการศาสนา
ร่วมบูรณะปฏิสังขรณ์พระอารามพระพุทธรูป แสดงความเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างยิ่ง