Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีผู้สูงอายุ unnamed, oldthai, cropped-chemistry-my-message-here, sec7…
ทฤษฎีผู้สูงอายุ
ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม (Phychosocial theory)
ทฤษฎีการถดถอย (Disengagement Theory)
รู้สึกว่าบทบาทตนเองลดลง แยกตัวออกจากสังคม
ควรทำให้ผู้สูงอายุเห็นคุณค่าในตนเอง
ทฤษฎีการมีกิจกรรม (Activity theory)
กระตุ้นให้ผู้สูงอายุทำกิจกรรมทั้งที่เคยทำและไม่เคยทำเพื่อให้เห็นคุณค่าในตนเองและใช้ชีวิตอย่างมีความสุข
ทฤษฎีความต่อเนื่อง (Continuity Theory)
บุคลิกและพฤติกรรมในอดีตเป็ฯผลมาจากความพึ่งพอใจ ให้ทำต่อไปเพื่อรักษาความมั่นคงในชีวิต
ทฤษฎีของเพค (Peck'Concept)
ผู้สูงอายุควรสร้างความรู้สึกพึงพอใจในตนเองในฐานเป็นคนคนหนึ่ง
มองความสุขทางใจมากกว่าทางกาย
แนวคิดพัฒนกิจชีวิตของอิริคสัน (Erikson's DevelopmentalTasks)
การปรับตัวต่อการเปลี่ยแปลง การสูญเสีย
ส่งเสริมให้ยอมรับการเปลี่ยนแปลง
ทฤษฎีทางชีวภาพ (Biological Theories)
ทฤษฎีอนุมูลอิสระ (Free radical Theory)
มีอนุมูลอิสระมากทำให้แก่เร็ว
อนุมูลอิสระได้มาจากการเผาผลาญ ไขมัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต
จำกัดอนุมูลอิสระโดยการคุมอาหาร และลดอาหารย่าง ทอด
ทฤษฎีสะสม (Accumulation Theory)
ทฤษฏีนี้เกิดจากสารไลโปฟัสซิน (Lipofuscin) สารนี้เป็น
ผลผลิตของการเผาผลาญไขมันไม่อิ่มตัว
สารไลโปฟัสซินมีผลเสียต่อร่างกายจะมีผลต่อการกระจายและการขนส่งสารที่จําเป็นในร่างกาย
ทฤษฎีพันธุกรรม (Genetic Theory)
ทฤษฎีนี้เชื่อว่ามนุษย์คาดเดาอายุได้ บรรพบุรุษอายุยืน ลูกหลานอายุยืน
อายุขัยถูกกำหนดโโย DNAที่ถ่ายทอดกันมา
ทฤษฎีการเชื่อมตามขวาง (Cross - Linking Theory) หรือทฤษฎีคอลลาเจน (Collagen Theory )
เมื่อมีอายุมากขึ้นโปรตีนบางตัวจะเปลี่ยนแปลงลักษณะไขว้ขวางกัน ขัดขวางกระบวนการเผาผลาญในร่างกายทำให้หน้าที่การทำงานลดลง
สารไขว้ขวาง เช่น คอลลาเจน อิลาสติน เมื่อมีมากจะทำให้อวัยวะบางส่วนเสื่อม
ผิวหนัง
ผนังหลอดเลือด
เลนซ์ในลูกตา ทำให้มีความทึบแสงมากขึ้น และกลายเป็นต้อกระจก
ทฤษฎีความเสื่อมโทรม (Wear and tear theory)
ใช้งานมาก เสื่อมไปตามสภาพการใช้งาน ตามกาลเวลา
ทฤษฎีระบบประสาท/ต่อมไร้ท่อและภูมิคุ้มกัน
(Neuroendocrine-Immunologic Theory)
เชื่อว่าความสูงอายุมาจากระบบประสาท/ต่อมไร้ท่อและภูมิคุ้มกันทำงานได้ลดลง
ผู้สูงอายุจึงมีภูมิคุ้มกันลดลง