Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ที่มีการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ -Pyelonephritis, Cystitis,…
การพยาบาลผู้ที่มีการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ -Pyelonephritis, Cystitis
-
-
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis) หมายถึง การอักเสบของเยื่อบุผิว กระเพาะปัสสาวะ (Bladder Mucosa) สาเหตุเกิดได้จากการติดเชื้อ (Infection) ซึ่งเป็นสาเหตุหลักที่พบมากที่สุดและสาเหตุการอักเสบท่ีไม่ได้มีการติดเชื้อ (Non-infection) ซึ่งพบได้น้อย เช่น อักเสบจากสารเคมี (Chemical Cystitis) หรือ อักเสบจากการฉายรัง สี (Radiation Cystitis) รวมถึงการอักเสบแบบปวดเรื้อรังท่ีไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด (Interstitial Cystitis/Bladder Pain Syndrome) ในบทความนี้กล่าวถึงเฉพาะ Cystitis ที่เกิดจากการ ติดเชื้อซึ่งพบได้ทั่วไปในประชากรโดยเฉพาะเพศหญิง
-
การพยาบาล
1.พยาบาลควรให้กำลังใจกับผู้ป่วยร่วมกับการให้ความรู้ในเรื่องการปฏิบัติตน เพื่อป้องกันการติดเชื้ออย่างถาวร
2.ให้การพยาบาลเพื่อให้เกิดความสุขสบายกับผู้ป่วย เช่น แนะนำให้แช่ก้นด้วยน้ำอุ่น (warm sitz bath) ให้ยาแก้ปวด (analgesic) พวก Pyridium (phenazo pyridine) เพื่อลดปวดและการหดเกร็ง (spasm) ของกระเพาะปัสสาวะ
3.พยาบาลต้องอธิบาย ผู้ป่วยด้วยว่าหลังจากได้ยาจำพวกนี้แล้วจะทำให้ปัสสาวะเป็นสีส้ม หลีกเลี่ยงการสวนปัสสาวะ
-
-
6.พยาบาลควรแนะนำผู้ป่วยให้ระมัดระวังเรื่องการติดเชื้อบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์เพราะเป็นบริเวณที่มีความชื้นค่อนข้างสูง
เกิดนิ่วที่กระเพาะปัสสาวะ (Bladder Calculi) อาจเกิดการติดเชื้อขึ้นสู่กรวยไต (Acute Pyelonephritis Due to Ascending Infection)อาจเป็นผลให้เกิดนิ่วที่ไต (Renal Calculi)หรืออาจเกิดไตเสื่อมสภาพจากการติดเชื้อบ่อยๆ (Renal Deterioration)ซึ่งในภายหน้าอาจทำให้ไตวาย (Renallure) กระทั่งต้องล้างไต(Dialysis) การติดเชื้อที่กรวยไตหากเป็นในหญิงตั้งครรภ์มีโอกาสทำให้แท้งบุตรหรือคลอดก่อนกำหนด ซึ่งมีรายงานพบได้สูงถึงร้อยละ 50 นอกจากนี้การติดเชื้อซ้ำบ่อยๆอย่าง
เรื้อรังยังเป็นปัจจัยเสี่ยงให้เกิดมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
-
-
-
-
-
-
-
ผู้ป่วยส่วนมากจะมีอาการปวดที่บริเวณสีข้างขึ้นอย่างเฉียบพลันโดยจะปวดมากที่ข้างใดข้างหนึ่งและอาจปวดร้าวลงมาที่บริเวณขาหนีบ พร้อมกับมีไข้ หนาวสั่นมากเป็นพักพัก(อาจต้องห่มผ้าห่มหลายผืน) คล้ายไข้มาลาเรียแต่จับไข้ไม่เป็นเวลาแน่นอน ผู้ป่วยอาจมีการมีอาการปวดท้องคลื่นไส้อาเจียนบางรายอาจมีการขัดเบาร่วมด้วย ปัสสาวะมีสีขุ่น บางครั้งอาจข้นเป็นหนอง
-
-
เป็นการติดเชื้อของกรวยไต ท่อไตต่างๆภายในไต(renal tubules) และเนื้อเยื่อไต(interstitial tissue) อาจเป็นการติดเชื้อที่ไตเพียงข้างเดียวหรือทั้งสองข้างก็ได้ เป็นได้ทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง
อาการปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะบ่อย ปวดปัสสาวะเฉียบพลัน บางครั้งอาจมีอาการปวดบริเวณหัวหน่าวร่วมด้วย ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย กรณีที่ไม่มีการติดเชื้อแบคทีเรียอาจจะเกิดจากมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
-
-
2.สาเหตุการอักเสบที่ไม่ได้มีการติดเชื้อ เช่น อักเสบจากสารเคมีหรืออักเสบจากการฉายรังสีรวมถึงการอักเสบแบบปวดเรื้อรังที่ไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด
-