Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 14 การจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle Diagram
หน่วยที่ 14 การจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย
เป็นความรู้ที่ได้มาจากข้อมูล สารสนเทสที่ผ่านกระบวนการคิด เปรียบเทียบ เชื่อมโยง กับความรู้อื่น และบูรณาการกับความรู้และประสบการณ์เดิมเกิดการประสมประสานระหว่างสถานการณ์ ค่านิยม ความรู้ในบริบท และความรู้แจ้งจนเกิดเป้นความเข้าใจเชื่อถือได้ และพัฒนาไปสู่ระดับที่สูงขึ้น คือปัญญา
ความสำคัญ
ช่วยให้เกษตรกรและนักส่งเสริมสามารถพัฒนาตนเองให้ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ช่วยสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
ช่วยแก้ปัญหาหรือขจัดความสงสัย ทำให้เกษตรกรและนักส่งเสริมสามารถสร้าฃวิธีการป้องกันและ/หรือแก้ไขปัญหาเพื่อจัดการกับปัญหาของตนเองและของส่วนรวม
ลักษณะของความรู้
ความรู้จากการค้นคว้าวิจัย
ความรู้ชุมชน
ประเภทความรู้
ความรู้ชัดแจ้งหรือความรู้ที่ปรากฎ
ความรู้ฝังลึก
การแสวงหาความรู้
เพื่อสนองความอยากรู้อยากเห็น
เพื่อนำมาใช้ประโยชน์
วิธีการแสวงหาความรู้
การแสวงหาความรู้ใหม่
การพัฒนาความรู้ขึ้นใหม่
การต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่ในชุมชนมาปรับใช้ให้ตอบสนองกลุ่มเป้าหมาย
การถ่ายโอน และการถ่ายทอดความรู้ในการส่งเสริมฯ
การถ่ายโอนความรู้จากกลุ่มสู่กลุ่ม
การถ่ายโอนความรู้จากบุคคลสู่กลุ่ม
การถ่ายโอนความรู้จากบุคคลสู่บุคคล
แนวคิดเกี่ยวเกี่ยวกับการจัดการความรู้ในการส่งเสริมฯ
การสร้างและยกระดับความรู้
การผนวกความรู้ชัดแจ้งเข้าด้วยกัน
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่จะนำไปสู่การขัดเกลาทางสังคม
การฝังหรือผนึกความรู้ในตน
การสกัดความรู้ออกจากตัวคน
ความหมาย
การรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กร โดยพัฒนาระบบจากข้อมูลไปสู่สารสนเทศ เพื่อให้เกิดความรู้และปัญญา
หลักการ
ร่วมกันพัฒนาวิธีทำงาน
การดำเนินการแบบบูรณาการ
ทดลองและเรียนรู้
การผลิตที่ใช้ผู้ปัญญาบนฐานทรัพยากรที่มีในท้องถิ่น
การทำงานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์
นำเข้าความรู้จากภานอกมาปรับใช้อย่างเหมาะสม
การเรียนรู้เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
องค์ประกอบ
คน
กระบวนการความรู้
เทคโนโลยี
กระบวนการและวิธีการจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
กระบวนการ
การแบ่งปันความรู้
การใช้หรือเผยแพร่ความรู้
การจัดหาความรู้
วิธีการจัดการความรู้
การทำฐานข้อมูล
ระบบพี่เลี้ยง
การใช้เทคนิคการเล่าเรื่อง
การประชุมระดมสมอง
การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน
ชุมชนนักปฏิบัติ
การใช้การจัดการความรู้ในการส่งเสริมฯ
ระดับองค์กร
ปัจจัยเกื้อหนุน
ปัจจัยด้านความรู้
ปัจจัยด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้
ปัจจัยด้านหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้
ระดับชุมชน
ปัจจัยเกื้อหนุน
ปัจจัยด้านความรู้
ปัจจัยด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้
ปัจจัยด้านหน่วยงานทีค่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ผู้นำกลุ่มและผู้นำชุมชน
นักส่งเสริม
สมาชิกในกลุ่มและสมาชิกชุมชน
เทคโนโลยีและกระบวนการจัดการความรู้
แหล่งความรู้ที่สามารถเข้าถึง ถ่ายทอด และแลกเปลี่ยนได้สะดวก
บรรยากาศ
ฐานความรู้
ลักษณะความรู้
การมีเครือข่าย
เป้าหมายความรู้
แนวทาง
การจัดการความรู้อย่างบูรณาการ
การจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
การปรับวิธีการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการทำงาน
การขยายผลและการต่อยอดความรู้
การค้นหาความรู้
การจัดการความรู้
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย