Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
ทฤษฎีผู้สูงอายุ
ทฤษฎีทางชีวภาพ
อธิบายความชราทางชีววิทยาเกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของสิ่งมีชีวิต
ประกอบด้วย
ทฤษฎีอนุมูลอิสระ
ความสูงอายุเกิดจากการสะสมสารที่เกิดจากการเผาผลาญไขมัน โปรตีน และคาร์โบไฮเดรต
การได้รับการกระตุ้นจากความร้อน แสง และรังสี เกิดอนุมูลอิสระ
ทำให้
อวัยวะมีความเสื่อมลง ร่างกายทําหน้าที่ลดลง
แนวคิดที่สอดคล้อง
ทฤษฎีจํากัดพลังงาน
การจํากัดพลังงานในอาหารที่รับประทานจะช่วยชะลอกระบวนการเผาผลาญในร่างกายให้ช้าลงโดยเฉพาะไขมัน
ทฤษฎีสะสม
ทฤษฏีนี้เกิดจากสารไลโปฟัสซิน (Lipofuscin)
พบในเซลล์ของกล้ามเนื้อหัวใจ ตับและเส้นประสาท
เป็นผลผลิตของการเผาผลาญไขมันไม่อิ่มตัว
เป็นสารสีเหลืองที่ประกอบด้วยไขมันและโปรตีน
ส่งผลต่อร่างกาย
ต่อการกระจายและการขนส่งสารที่จําเป็นต่อร่างกาย
ทฤษฎีการเชื่อมตามขวาง หรือทฤษฎีคอลลาเจน
เมื่อมีอายุมากขึ้นโปรตีนบางตัวจะเปลี่ยนแปลงลักษณะไข้วขวางกันและอาจจะขัดขวางกระบวนการเผาผลาญในร่างกาย
เมื่อเนื้อเยื่อคอลลาเจนมีการเปลี่ยนแปลงทําให้มีลักษณะแข็ง แตกแห้ง สูญเสียความยืดหยุ่น
ทำให้เกิด
เซลล์ในลูกตาทึบแสงขึ้น เกิดต้อกระจก
ทฤษฎีความเสื่อมโทรม
เปรียบเทียบคนคล้ายกับเครื่องจักร
คือ
เมื่อใช้งานอวัยวะนานๆจะเกิดการตายของเซลล์ เนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆเสื่อมลง
ควรมีการส่งเสริมสุขภาพและชะลอความเสื่อมของร่างกาย
ทฤษฎีพันธุกรรม
เชื่อว่าความสูงอายุถูกควบคุมด้วยพันธุกรรม
มนุษย์สามารถคาดเดาอายุขัยได้
คือ
ครอบครัวใดที่พ่อ – แม่ – ปู่ – ย่า ตา – ยาย อายุยืน ลูกย่อมมีอายุยืนด้วย
ทฤษฎีระบบประสาท่อมไร้ท่อและภูมิคุ้มกัน
ความสูงอายุเป็นผลร่วมกันของการเปลี่ยนแปลงระบบประสาท/ต่อมไร้ท่อ
ร่างกายสร้าง antibody ต่อต้านantigen ที่จําเพาะ เช่น แบคทีเรีย ไวรัส
ทำให้
มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจและสังคมของผู้สูงอายุมักจะขึ้นกับบุคลิคสถานภาพ วัฒนธรรม เจตคติ และการมีกิจกรรมในสังคม
ได้แก่
ทฤษฎีการถดถอย
แยกตัวออกจากการดำเนินชีวิตในสังคม
เปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่เข้ามาทำหน้าที่แทน
การพยาบาล
จัดให้มีความรู้ก่อนการเกษียณ
สนับสนุนความรู้สึกมีคุณค่าเป็นสมาชิกในสังคม
ทฤษฎีการมีกิจกรรม
ส่งเสริมการทำกิจกรรมต่อไป ไม่ยอมรับการเป็นผู้สูงอายุเร็วเกินไป
กระตุ้นให้ผู้สูงอายุมีการทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
ทฤษฎีความต่อเนื่อง
เชื่อว่าบุคลิกภาพและรูปแบบพฤติกรรมไม่เปลี่ยนแปลงไปเมื่ออายุมากขึ้น
คงไว้ซึ่งบุคลิกภาพเดิม ๆ เพื่อรักษาความมั่นคงให้กับชีวิต
แนวคิดพัฒนกิจชีวิตของอิริคสัน
พันธกิจที่สำคัญ
การปรับตัวต่อความเจ็บป่วย
การสูญเสียและความเปลี่ยนแปลง
การชื่นชมชีวิตในอดีตและการเตรียมตัวเข้าสู่วาระสุดท้ายขอชีวิต
แนวคิดที่สําคัญคือ
การเป็นผู้สูงอายุที่มีสุขภาพจิตดี
การหาความหมายของชีวิตเพื่อเสริมความรู้สึกมีศักดิ์ศรี
ทฤษฎีของเพค
ขยายแนวคิดของ Erikson
เกี่ยวกับการสร้างความรู้สึกมีศักดิ์ศรีในตนเองในฐานะคนๆหนึ่ง
ผู้สูงอายุควรหาความสุขทางใจ
สะท้อนถึงถึงอดีตที่ประสบความสำเร็จอย่างชื่นชม แทน ระยะเวลาชีวิตที่เหลืออยู่