Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ, นางสาวนภัสศุภางค์ ไวยพารา เลขที่ 35…
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ
ปัจจัยภานใน
สุขภาพอนามัย
ถ้าสุขภาดี จะทำกิจกรรมได้ดี ไม่ติดขัด
ถ้าสุขภาพไม่ดี การทำกิจกรรมก็จะติดขัด ทำได้ไม่ดี
กรรมพันธ์
ความเชื่อ
การมองโลกและประการณ์
มองในแง่ดี : ก็จะมีกำลังใจในการดูแลสุขภาพให้ดีขึ้นและยังหายเร็วขึ้น
มองแง่ร้าย : ก็จะไม่มีกำลังใจในการดูแลสุขภาพของตนให้ดีขึ้นและทำให้อาการทรุดลงเรื่อยๆ
ปัจจัยภายนอก
การศึกษา
เศรษฐกิจ
เงินเดือน ดอกเบี้ย บำนาาญ
สิ่งแวดล้อม
ถ้าสิ่งแวล้อมดี สุขภาพก็จะดี แต่ถ้าแยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่ดี ก็อาจจะส่งผลถึงสุขภาพของผู้สูงอายุได้
ตัวอย่าง
ถ้าอยู่ในที่ที่เสียงดัง จะทำให้ผู้สูงอายุมีปัญหาในเรื่องการได้ยิน
ถ้าอยู่ในที่ที่สงบ จะทำให้ผู้สูงอายุผ่อนคลาย พักผ่อนได้เพียงพอ
การเกษียณงาน
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและสรีรวิทยาในผู้สูงอายุ
ระบบผิวหนัง
การสร้างเซลล์ใหม่มาแทนก็ลดลงทำให้การหายของแผลก็ช้าลง
อีลาสตินน้อยลง คอลลาเจนแข็งตัวขึ้น
ผิวหนังยืดหยุ่นได้ไม่ดี
นำ้และไขมันใต้ผิวหนังลด ทำให้ผิวหนังเหี่ยวย่นมากขึ้น
ทำให้ผู้สูงอายุเกิดแผลกดทับง่าย
ทนต่อความเย็นได้น้อยลง
การระบายความร้อน ด้วยการระเหยได้ไม่ดี
เกิดลมแดด (Heat stroke)
ปัญหาการได้ยินและการมองเห็น
เยื่อแก้วหูและหูชั้นกลางแข็ง
ทำให้บกพร่องในการได้ยินระดับเสียงสูงมากกว่าต่ำ
การสื่อสารไม่ควรตะโกน ควรพูดเสียงทุ่ม
พูดช้าๆ ชัดเจน คำง่ายๆ
พูดต่อหน้า ไม่ห่างเกิน 3 ฟุต
เพื่อให้ผู้สูงอายุอ่่นปากได้
หนังตามีความยืดหยุ่นลดลง หนังจาจก รูม่านตาเล็กลง
ผลทำให้การมองเห็นไม่ดี โดยเฉพาะตอนกลางคืน
เซลล์สมองและประสาท ประสิทธิภาพลดลง
ทำให้การตอบสนองช้าลง
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
หลัง 40 ขึ้นไป การสร้างเซลล์กระดูจะลดลงแต่จะสลายมากขึ้น
เพศหญิงขาด Hormones Estrogen หลังหมดประจำเดือน
ทำให้กระดูกเปราะบาง
ความยาวกระดูกลดลง เพราะหมอนรองกระดูกเสียน้ำไป
ทำให้หลังค่อม
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ผนังหลอดเลือดหน้าขึ้น
ส่งผลการแลกเปลี่ยนอาหารและของเสีย ลดลง
ผนังหลอดเลือดมีความยืดหยุ่นน้อยลง
เพราะมีคอลลาเจนเพิ่มขึ้น
ทำให้เกิดความดันโลหิตต่ำ เมื่อเปลี่ยนท่าทาง เพราะฉะนั้นต้องเปลี่ยนท่าทางช้า
ระบบภูมิคุ้มกัน
เมื่ออายุมากขึ้นทำให้ภูมิคุ้มกันลดลง
ติดเชื้อได้ง่าย
จำนวน T-lymphocytes ไม่เปลี่ยนแปลง
cell จำนวนมากอยู่ใน immature เพราะขาด Hormones
Helper- T cell ต่อ suppressor T cell เพิ่ม
ทำให้การตอบสนองต่อเชื่อโรคลดลง
ระบบทางเดินหายใจ
การขยายและหดตัวของปอดลดลง
ความแข็งแรงและการหดตัวของกล้ามเนื้อที่ช่วยการหายใจลดลง
การเปิดปิดกล่องเสียงเลวลง
ทำให้เกิดการสำลัก
เซลล์ขน Reflexและประสิทธิภาพการไอลดลง
ทำให้ติดเชื้อทางเดินหายใจได้ง่าย
ระบบทางเดินอาหาร
ฟันหลุดล่วงง่าย สึกกร่อน ต่อมน้ำลายเสื่อม
การย่อยแป้ง น้ำตาลในปากลดลง
ปาก ลิ้น แห้ง
อาจเกิดการติดเชื้อ
การเคลื่อนไหวของหลอดอาหารลดลง แต่มีการขยาย กล้ามเนื้อหูรูดหย่อนตัว และทำงานช้าลง
ทำให้แสลหน้าอก
ถ้าเกิดการสำลักเข้าหลอดลม
เกิดปอดบวมได้
การดูดซึมเหล็กและแคลเซียมลดลง
ทำให้เกิดกระดูกผุและโลหิตจางได้ง่าย
ระบบทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์
ไต : ขับของเสียได้ลดลง ปริมาณเลืดเข้าสู่ไตลดลง
ความเสื่อมหน้สที่ของไต ในการควบคุมน้ำเข้า-ออก
ทำให้ผู้สูงอายุเสี่ยงต่อภาวะขาดน้ำ
ปัสสาวะบ่อย เนื่องจากความจุลดลงและเซลล์กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะลดลง
เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ผู้ชาย : อาจมีปัสสาวะขัด ผู้หญิง : มีการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ระบบต่อมไร้ท่อ
ตับอ่อนลั่งInsulinลดลงและช้า มีการตอบสนองInsulinน้อยลง
มีผลทำให้ระดับความทนต่อน้ำตาลลดลง
ต่อมเพศทำงานลดลง
ทำให้ไม่มีประจำเดือน
ต่อมไทรอยด์มีพังผืดสะสมมากขึ้น
การทำงานจึงลดลง
เกิดภาวะ Hypothyroidism
พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย
อาการ : เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อ่อนเพลีย
ปัญหา สาเหตุ และการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการชะลอความเสื่อมในผู้สูงอายุ
อุบัติเหตุ แผลบริเวณผิวหนัง
ตรวจผิวหนังเสมอ เลี่ยงการประคบร้อนหรือเย็นจัด
จัดสิ่งแววดล้อมให้ดี ให้สะอาด
เปลี่ยนอริยาบทช้าๆ
ภาวะขาดสารอาหาร เบื่ออาหาร
ควรรับประท่นอาหารที่เป็นประโยชน์ ครบ 5 หมู่ และควรทานธาตุเหล็ก
การดูกเปราะและแตกหักง่าย ปวดข้อ
ทาน Ca ออกกำลังกาย บริหารข้อ
เลี่ยงการนั่งยองๆ ขัดสมาธิ ระมัดระวังการเคลื่อนไหว
กล้ามเนื้อหัวใจตาย หัวใจวาย ความดันสูง สมองขาดเลือด
เลี่ยงความเครียด ออกกำลังกาย พักผ่อนให้เพียงพอ
งดอาหารที่มีไขมันสูง
เลี่ยงเหตุการณืที่ทำให้ตกใจหรือตื่นเต้น
การติดเชื้อทางเดินหายใจและการสำลัก ถุงลมโป่งพอง ห่ยใจลำบากเหนื่อย
ทานอาหารช้าๆ ไม่พูดขณะทานอาหาร
บริหารการหายใจให้ถูกจ้องและไออย่างถูกวิธี
ฉีดวัคซีนป้องกันการติดเชื้อทางเดินหายใจ
เบาหวาน
ควบคุมอาหาร โดยเฉพาะ แป้ง น้ำตาล
ควบคุมน้ำหนัก
สังเกตอาการผิดปกติ
ปัสสาวะบ่อย ดื่มน้ำมาก เป็นแผลแล้วไม่หาย
ท้องผูก
ทาอาหารที่มีเส้นใยๆเยอะ
ผัก ผลไม้
ห้ามกลั้นอุจจาระ
หลีกเลี่ยงความเครียดและการทานยาถ่าย
การกลั้นปัลสสาวะไม่อยู่ ถ่ายบ่อยและลำบาก
สังเกตุการถ่ายปัสสาวะลำบาก ถ้ามีอาการมากขึ้น ให้รีบพบแพทย์
เตรียมห้องน้ำให้สะดวก พร้อมใช้
ดื่มน้ำให้เพียงพอต่อวัน
ต้อกระจก
ตรวจตาปีละ 1 ครั้ง
ไม่ใช่สายตามากไปและต้องแสงสว่างเพียงพอ
ถ้ามีอาการมากขึ้น ไห้ไปพบแพทย์เพื่อรักษาต่อไป
การนอนไม่หลับ
จัดสถานที่ให้สงบ ไม่มีสิ่งรบกวน
ทานนมอุ่นๆก่อนนอน แต่เลี่ยงการดื่มน้ำก่อนนอน
นอนกลางวันให้น้อยลง
หูตึง
ตรวจหูปีละ 1ครั้ง
สังเกต ถ้าเกิดความผิดปกคิให้รีบไปพบแพทย์
ผิวแห้งแตกง่าย เหี่ยวย่น
หลีกเลี่ยง
อาบน้ำบ่อยๆ
การใช้สบู่
ถ้าใช้ให้ใช้สบู่อ่อนๆ
สังผัสแดด
ความไม่สมดุลของน้ำในร่างกาย
ดื่มน้ำให้เพียงพอ
หลีกเลี่ยงการอยู่ในที่ที่แดดร้อน
เพื่อป้องกันการสูญเสียน้ำ
หนาวเย็น
ใส่เสื้อผ้าหนาๆในวันที่อากาศเย็น
การติดเชื้อในอวัยวะสืบพันธ์ เจ็บขณะร่วมเพศ
ดูแลความสะอาดบริเวณอวัยวะเพศให้ดี
เนื่องจากเสี่ยงต่อการติดเชื้อง่าย
ขณะร่วมเพศควรใช้สารหล่อลืน
เพื่อไม่ให้เกิดการอักเสบ หรือฉีกขาด
นางสาวนภัสศุภางค์ ไวยพารา เลขที่ 35 62111301036 รุ่นที่ 37 นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 2