Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Human Immunodeficiency Virus (HIV) - Coggle Diagram
Human Immunodeficiency Virus (HIV)
เชื้อไวรัสชนิดนี้ทำให้ร่างกายอ่อนแอลงเรื่อยๆและทำลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ระบบภูมิคุ้มกันทำให้ร่างกายของคนเราสามารถต่อสู้กับการติดเชื้อต่างๆได้ เนื่องจากระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอลงเรื่อยๆ
การแพร่เชื้อ
การแพร่เชื้อทางเลือดผ่านการแลกเปลี่ยนเลือด (เช่น การใช้ยาฉีดเข้าเส้น,การได้รับเลือดที่มีเชื้อ,การใช้อุปกรณ์ที่ไม่ได้รับการฆ่าเชื้อ)
การแพร่เชื้อจากแม่สู่ลูก: จากแม่ที่ติดเชื้อสู่ลูกในขณะที่แม่ตั้งครรภ์ ขณะคลอดและการให้นมแม่การแพร่เชื้อจากแม่สู่ลูก: จากแม่ที่ติดเชื้อสู่ลูกในขณะที่แม่ตั้งครรภ์ ขณะคลอดและการให้นมแม่
การแพร่เชื้อทางเพศสัมพันธ์ผ่านทางช่องคลอด ทางทวารหนักหรือการมีเพศสัมพันธ์โดยใช้ปากโดยที่ไม่มีการป้องกัน
อาการ
ปวดตามข้อ
มีแผลในช่องปาก อวัยวะเพศ หรือ ทวารหนัก
มีผื่นคล้ายหัด
ปวดเมื่อยตามตัว เบื่ออาหาร หรือน้ำหนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ
ปวดศีรษะ
ท้องเสีย ถ่ายเหลว
เจ็บคอ คออักเสบ
คลื่นไส้ อาเจียน
อ่อนเพลีย
คอแข็ง (ไม่สามารถก้มคอลงมาชิดหน้าอกได้)
มีไข้
ระยะของการติดเชื้อ HIV
ระยะที่ 3 ระยะต่อมน้ำเหลืองโต (Persistent generalized lymphadenopathy, PGL)
ระยะนี้จะเกิดนานเท่าไรหลังจากรับเชื้อยังไม่ทราบแน่ชัด โดยต้องพบต่อมน้ำเหลืองโตตั้งแต่ 2 บริเวณขึ้นไปและมีขนาดตั้งแต่ 1 ซม. นานเกินหนึ่งเดือน
ระยะที่ 4 ระยะติดเชื้อมีอาการ (Symptomatic HIV infection)
ระยะที่ 2 ระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ (Asymptotic infection)
คนไข้จะไม่มีอาการใดเลย แต่ถ้าเจาะเลือดจะพบแอนติบอดี คือมีเลือดเอดส์บวกไปตลอดชีวิต แอนติบอดีจะเริ่มพบประมาณ 6-8 สัปดาห์ หลังจากได้รับเชื้อ หรืออาจเนิ่นนานไปถึง 3 เดือน
ระยะที่ 1 ระยะเฉียบพลัน (Acute HIV infection)
ใน 2-3 สัปดาห์หลังการได้รับเชื้อ HIV จะมีอาการคล้ายไข้หวัด ต่อมน้ำเหลืองโต อาการต่าง ๆ เหล่านี้จะหายไปได้เองภายใน 1-2 สัปดาห์ โดยอาจมีอาการน้อยมากจนผู้ป่วยไม่สังเกต
การวินิจฉัยโรค
การทดสอบชนิดตรวจยืนยัน (Confirmatory test)
2.1 Western Blot (WB)
2.2 Indirect Fluorescent Antibody Assay (IFA)
2.3 Radioimmunoprecipitation assay (RIPA)
การทดสอบอื่น ๆ ที่อยู่ระหว่างวิจัยและพัฒนา (Test under Research and development)
3.3 การตรวจสารพันธุกรรม
3.4 การทดสอบหาแอนติบอดีในสารคัดหลั่งอื่น ๆ เช่น น้ำลาย น้ำนม ปัสสาวะ น้ำไขสันหลัง
3.2 Line immunoassay
3.5 การตรวจหาปริมารไวรัส (viral load)
3.1 HIV Antigen Test
การตรวจคัดกรอง (screening test)
1.2 Particle agglutination (PA)
1.1 อีไลซ่า (ELISA : Enzyme Linked Immunosorbent Assay)
1.3 การทดสอบแบบรวดเร็ว (Rapid test)
การรักษา
การใช้ยายับยั้งการเพิ่มจำนวนของเชื้อไวรัส หรือยาต้านเชื้อไวรัสซึ่งต้องรับประทานตลอดชีวิตเรียกว่า Antiretroviral therapy