Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Mood Disorder - Coggle Diagram
Mood Disorder
Bipolar disorder
ลักษณะอาการสำคัญ
เกณฑ์การวินิจฉัยตาม DSM-5
A: มีอารมณ์สนุกสนานรื่นเริงผิดปกติหรือมีอารมณ์หงุดหงิด โกรธง่ายผิดปกติอย่างต่อเนื่องร่วมกับมีกิจกรรม หรือมีพลังเรี่ยวแรงเพิ่มขึ้นเป็นเกือบทั้งวันเกือบทุกวันนานอย่างน้อย1สัปดาห์
B. ในช่วงดังกล่าว มีอาการที่ผิดปกติไปจากเดิม ดังต่อไปนี้ อย่างน้อย 3 อย่าง หรือหากมีอารมณ์เป็นแบบ หงุดหงิดโกรธง่าย ต้องมีอาการอย่างน้อย 4 อย่าง
มีความคิดเปลี่ยนเรื่องเร็ว (Flight to idea) หรือรู้สึกว่าความคิดแล่นเร็ว
วอกแวกง่าย
พูดคุยมากกว่าปกติหรือพูดไม่ยอมหยุด
มีกิจกรรมมากผิดปกติ
ความต้องการนอนลดลงกว่าปกติ
การตัดสินใจไม่เหมาะสม
ประเมินค่าตนเองว่ามีความสําคัญผิดปกติหรือมีความ ยิ่งใหญ่อย่างอื่น (Grandiosity)
C. อาการดังกล่าวรุนแรงจนทำให้การทำหน้าที่ด้านการงาน สังคม ความสัมพันธ์เสียไป
D. อาการไม่ได้เป็นผลโดยตรงจากสารเสพติด ยารักษาโรคหรือโรคทางกาย
การจัดการทางคลินิก 3 ระยะ
ระยะเฉียบพลัน (Acute phase)
ผู้ป่วยหมกมุ่นกับเรื่องเพศและอาจมีพฤติรรมเสี่ยง
ทำให้ผู้ป่วยและคนรอบข้างเสี่ยงต่อการเกิดการบาดเจ็บ
ให้ยา Lithium, Valproate, Carbamazepine เป็นต้น
ประเมินซ้ำทุก 1-2 สัปดาห์ เป็นเวลาอย่างน้อย 6 สัปดาห์
ตอบสนองต่อยาดี
รักษาด้วยยาเดิมต่อไปอีก 8 สัปดาห์จนไม่มีอาการ
ตอบสนองต่อยาไม่ดี
พิจารณยาอื่น
รักษาด้วยไฟฟ้า
บำบัดทางเลือกอื่น
ระยะต่อเนื่อง (continuation phase)
ผู้ป่วยกลับมาทำหน้าที่ได้ตามปกติ
รับประทานยาต่ออย่างน้อย 6 เดือน หลังจากเริ่มยาครั้งแรก เพื่อควบคุมอาการและป้องกันการป่วยซ้ำ
ควรให้สุขภาพจิตศึกษา จิตบำบัด และการประคับประคองครอบครัวร่วมด้วย
ระยะคงสภาพ (Maintenance phase)
ผู้ป่วยที่มีอาการกำเริบบ่อยครั้ง
อาจต้องรับประทานยาตลอดชีวิต
ไม่มีอาการ
พิจารณาหยุดยา โดยจะค่อย ๆ ลดขนาดยาลง เพื่อป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำหรือเพิ่มความเสี่ยงต่อการ ฆ่าตัวตาย
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่พบบ่อย
เสี่ยงต่อการเกิดพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงต่อผู้อื่น
เสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บ
ได้รับน้ำดื่ม สารอาหาร ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การพยาบาล
การดูแลความปลอดภัย
การจัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย
Seclusion or Restrained
กระทำด้วยความรู้สึกเข้าอกเข้าใจ
การตอบสนองความต้องการทางสรีระ
ผู้ป่วย Mania จะพักผ่อนและนอนหลับน้อยมาก
จัดสิ่งแวดล้อมให้
เงียบสงบ
กำหนดเวลาเข้านอน
ผู้ป่วยมักจะยุ่งเสียจนไม่เวลารับประทานอาหาร
อาหารชื้นเล็ก พอดีคำที่ผู้ป่วยสามารถพกหรือถือ
รับประทานได้
การสร้างสัมพันธภาพและการสนทนาเพื่อการบำบัด
สนทนากับผู้ป่วยด้วยน้ำเสียงนุ่มนวล
แสดงถึงความเข้าใจและเห็นอกเห็นใจผู้ป่วย
ผู้ป่วย Mania เราจะหาจังหวะพูดแทรกได้ยากมาก
การดูแลเรื่องการรับประทานยา
ติดตาม Lithium serum
level
ดูแลไม่ให้ร่างกายขาดน้ำ หรือมีภาวะน้ำในร่างกายเกิน
ดูแลให้ผู้ป่วยดื่มน้ำประมาณ 2 ลิตรต่อวัน
รับประทานเกลือที่มีใน
อาหารตามปกติ
การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกที่เหมาะสม
หากผู้ป่วยแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมพยาบาลไม่
ควรตำหนิผู้ป่วยโดยตรง
ตักเตือนด้วยท่าทีสงบและชวน
ผู้ป่วยทำกิจกรรมอื่นเพื่อเบียงเบนความสนใจ
การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว
การประเมินภาวะสุขภาพ
severe mania ประเมินได้ยาก
เพราะผู้ป่วยพูดไม่หยุด มั่นใจสูง มีอารมณ์ขัน
ควรชวนคุยในประเด็นที่ผู้ป่วยสนใจจะได้ข้อมูลและ
ความร่วมมือมากกว่า
ไม่ต้องพยายามพูดหรือปลอบใดๆ เพราะผู้ป่วยไม่ฟัง
Major depressive disorder (MDD)
ลักษณะอาการสำคัญ
มีอาการที่เป็นเอกลักษณ์ 2 สัปดาห์ติดต่อกันขึ้นไป
มีอารมณ์ซึมเศร้าหรือขาดความสนใจในกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตอย่างน้อย 4 อาการ
หมดความสนใจในสิ่งต่าง ๆ
เปลี่ยนแปลง
น้ำหนัก
นอนหลับ
สมาธิ
การตัดสินใจ
ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง
การจัดการทางคลินิก 3 ระยะ
ระยะต่อเนื่อง (continuation phase)
เป้าหมาย
ป้องกันอาการกำเริบและการป่วยซ้ำ
ได้รับยาต้านเศร้าต่อไปอีก 4-9 เดือน ซึ่งอาจใช้จิตบำบัดร่วมด้วย
ระยะคงสภาพ (Maintenance phase)
อาจใช้ยาต่อเนื่องในผู้ป่วยบางราย
ป้องกันการป่วยซ้ำ
ผู้ป่วยที่เคยป่วยมาแล้ว 2 ครั้ง
รับประทานยาต่อเนื่องอีก 2 ปี
ผู้ป่วยที่เสี่ยงเป็นซ้ำมาก ให้ทานยาต่อเนื่อง 5 ปีหรือมากกว่านั้น
ระยะเฉียบพลัน (Acute phase)
เป้าหมาย
ลดซึมเศร้าในระดับปานกลางถึงรุนแรง
ใช้ยากลุ่ม SSRI เป็นยาตัวแรกในการรักษา
ติดตามการรักษาใน 2 wk.
การพยาบาล
การดูแลความปลอดภัย
ประเมินความคิดฆ่าตัว
ตายเป็นระยะๆ
ตั้งใจและมีแผนที่จะฆ่าตัวตาย ให้ดูแลอย่างใกล้ชิดตลอด 24 ชั่วโมง
สังเกตการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์และจิตใจของผู้ป่วย
การจัดสิ่งแวดล้อมต้องให้ปลอดภัย
ไม่มีสิ่งของที่สามารถนำมาใช้ทำร้ายตนเองได้
การสร้างสัมพันธภาพและเทคนิคการสนทนาเพื่อ การบำบัด
เริ่มต้นสร้างสัมพันธภาพฯทันทีไม่ว่าผู้ป่วยจะมีอาการมากหรือน้อย
กิริยาท่าทีการแสดงของพยาบาล
ห่วงใยผู้ป่วยอย่างจริงใจ
ปลุกเร้าให้ผู้ป่วยแสดงความร่าเริงแจ่มใส
ไม่ควรพยายามแก้ไขความคิดหรือความรู้สึก
ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกผิด
หรือรู้สึกไร้ค่า
การส่งเสริมการทำกิจวัตรประจำวันและดูแลสุขภาพกาย
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยทำเท่าที่จะทำได้
เพิ่มความรู้สึกมีคุณค่าใน
ตนเอง
ทำให้ผู้ป่วยสามารถงานที่ซับซ้อนต่อไปได้
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
การส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง
แสดงการยอมรับและให้เวลาผู้ป่วย
ลดความ
ล้มเหลวลงให้น้อยที่สุด
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการแยกตนเอง
ติดต่อกับผู้ป่วยเป็นเวลาสั้นๆ แต่บ่อยๆ
กระตุ้นและดูแลพาผู้ป่วยออกจากห้อง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่พบบ่อย
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
ภาวะโภชนาการไม่สมดุลหรือขาดสารอาหาร
แบบแผนการนอนแปรปรวน
ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองต่ำ