Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประวัติและพัฒนาการพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ประเทศไทย - Coggle Diagram
ประวัติและพัฒนาการพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ประเทศไทย
ประวัติความเป็นมาในอดีตเกี่ยวกับกฎหมายการศึกษา
พรบ. พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่2) พ.ศ.2545 (ฉบับที่
3) พ.ศ.2553 และ(ฉบับที่4) พ.ศ.2562
จุดหมายการศึกษาไว้ในมาตรา 6
การจัดการ
ศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ
ร่างกาย
จิตใจ
สติปัญญา
ความรู้
คุณธรรม
จริยธรรม
วัฒนธรรมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
เพื่อให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุข
การปฏิรูปการศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และมาตรฐานการ
เรียนรู้และตัวชี้วัด(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
โดยมีแนวความคิด
1.1 วิสัยทัศน์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็น
กำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็น
พลเมืองไทยและเป็นพลโลกยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ
และการศึกษาตลอดชีวิต
ดังนี้
1.2 หลักการ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สำคัญ ดังนี้
1.2.1 เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและ
1.2.2 เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับ
1.2.3 เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมใน
1.2.4 เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลา
1.2.5 เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1.2.6 เป็นหลักสูตรการศึกษา สำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตาม
1.3 จุดหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มี
ปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ
โดยมีหัวใจดังนี้
1.3.1 มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มี
วินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือยึดหลักปรัชญาของ
1.3.2 มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้
1.3.3 มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย
1.3.4 มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถี
1.3.5 มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่2) พ.ศ.2545
(ฉบับที่3) พ.ศ.2553 และ(ฉบับที่4) และพ.ศ.2562
ความสำคัญกับการศึกษาจึงได้บัญญัติไว้ในมาตรา 81 ว่า “รัฐต้องจัดการศึกษาอบรมและ
สนับสนุนให้เอกชนจัดการศึกษา อบรม ให้เกิดความรู้คู่คุณธรรม
โดยมีผลังคับใช้
จากความในมาตรา 81 นี้ จึงได้มีการตราพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาในวันที่ 19 สิงหาคม 2542 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 20 สิงหาคม
2542 เป็นต้นไป โดยมีสาระสำคัญ 9 หมวด สรุปได้ดังน
การศึกษาไทยในยุค4.0
เป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจของ
ประเทศไทยภายใต้การนำของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา
วิสัยทัศน์ที่ ว่า “มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน”
กว่าจะมาถึงการศึกษาในยุคประเทศไทย 4.0
การศึกษา 1.0 เป็นยุคที่เริ่มต้นวางระบบการศึกษาเริ่มปี พ.ศ. 2503 ป็นยุคที่เน้นให้นักเรียนเกิดทักษะ 4 ด้าน คือ พุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษา
และพลศึกษา การวัดผลวัดเป็นองค์รวม ตัดสินเป็นร้อยละ หากคะแนนทดสอบผ่านร้อยละ 50
ถือว่าผ่าน หากคะแนนทดสอบน้อยกว่าร้อยละ 50 ถือว่าการสอบตก ต้องเรียนซํ้าชั้น
การศึกษา 2.0 เป็นยุคที่มีการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยเหลือครูผู้สอนในการจัดการเรียน
การสอน เริ่มในปี พ.ศ. 2521 ปรับเวลาเรียนในระดับประถมศึกษาจาก 7 ปีเป็น 6 ปี
ระดับมัธยมศึกษาจาก 5 ปี เป็น 6 ปี ระดับมัธยมศึกษาใช้อักษรย่อว่า “ม.”
การศึกษา 3.0 จากการที่มีการพัฒนาเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทำให้ทุกคนสามารถสืบค้นเริ่มในปี พ.ศ. 2551
การศึกษา 4.0 เป็นยุคที่ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้สื่อเทคโนโลยีที่สูงขึ้นและเข้าถึง
ข้อมูลได้ง่ายขึ้นการจัดการศึกษา 4.0 จึงต้องนำเอาหลักการเกี่ยวกับยุคสมัยใหม่ที่ตรงความสนใจของคน
ในยุคดิจิทัลที่มีชีวิตในสังคมออนไลนโดยใช้ขีดความสามารถของระบบเชื่อมโยงของระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตที่มีอุปกรณ์
สมัยใหม่ช่วย เช่น สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต เป็นต้น
กระทรวงศึกษาธิการได้วางแนวทางปฏิรูปการศึกษา
เพื่อตอบสนองการพัฒนาไว้ดังนี
ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สองภาษา
การส่งเสริมดังนี้
ใช้ STEM เข้ามามีบทบาทในการส่งเสริมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยีการเรียนรู้แบบ STEM คือการนำเอาศาสตร์ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ วิทยาศาสตร์ (Science)
เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) และ คณิตศาสตร์ (Mathematics) มา
บูรณาการรวมกันเพื่อแก้ไขปัญหาหรือสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ
ส่งเสริมทักษะ EF (Executive Functions) ซึ่งเป็นกระบวนการทางความคิด
การเรียนรู้แบบโครงงาน Project-based learning (PBL) เป็นการส่งเสริม
กระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ
ใช้เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในการจัดการเรียนการสอน โดยเน้นให้ผู้เรียนใช้
เทคโนโลยีอย่างมีวิจารณญาณและเกิดประโยชน
การเรียนรู้แบบ Active Learning คือ กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียน เรียนรู้
ด้วยการปฏิบัติ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542ประกาศในราชกิจจานุเบกษาในวันที่ 19 สิงหาคม 2542 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 20 สิงหาคม
2542 เป็นต้นไป โดยมีสาระสำคัญ 9 หมวด ดังนี้
หมวด 1 บททั่วไป ความมุ่งหมายและหลักการ
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
หมวด 3 ระบบการศึกษา
หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา
หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา
ส่วนที่ 1 การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
ส่วนที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ส่วนที่ 3 การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชน
หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
หมวด 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่2) พ.ศ.2545 และ
(ฉบับที่3) พ.ศ.2553 ได้บัญญัติเรื่องเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาไว้ในหมวด 9 ดังน
มาตรา64
รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิต การพัฒนาแบบเรียน ตำรา
หนังสือวิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์อื่น ๆ วัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น โดยเร่งรัดพัฒนาขีด
ความสามารถในการผลิต จัดให้มีเงินสนับสนุนการผลิตและมีการให้แรงจูงใจแก่ผู้ผลิต และพัฒนา
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทั้งนี้โดยเปิดให้มีการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม
มาตรา65
ให้มีการพัฒนาบุคลากรทั้งในด้านผู้ผลิต และผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
เพื่อให้มีความสามารถและทักษะในการผลิตรวมทั้งการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมมีคุณธรรมและ
ประสิทธิภาพ
มาตรา 63
มาตรา 63 รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำและโครงสร้างพื้นฐานอื่นที่จำเป็นต่อ
การส่งวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ วิทยุโทรคมนาคม และการสื่อสารในรูปอื่น เพื่อใช้
ประโยชน์สำหรับการศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การทำนุบำรุง
ศาสนาศิลปวัฒนธรรมตามความจำเป็น
มาตรา66
ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อ
การศึกษาในโอกาสแรกที่ทำได้ เพื่อให้มีความรู้และทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
มาตรา67
รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาการผลิต และพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อ
การศึกษารวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้เกิด
การใช้ที่คุ้มค่าและเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู้ของคนไทย
มาตรา68
ให้มีระดมทุนเพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาจากเงิน
อุดหนุนของรัฐ ค่าสัมปทานและผลกำไรที่ได้จากการดำเนินกิจการด้านสื่อสารมวลชนเทคโนโลยี
สารสนเทศ และโทรคมนาคมจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรประชาชน
รวมทั้งให้การลดอัตราค่าบริการเป็นพิเศษในการใช้เทคโนโลยีดังกล่าว เพื่อการพัฒนาคนและสังคม
หลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินกองทุนเพื่อการผลิต การวิจัย และการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อ
การศึกษาให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา69
รัฐต้องจัดให้มีหน่วยงานกลางทำหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย
แผนส่งเสริมและประสานการวิจัย การพัฒนา การใช้ รวมทั้งการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพ
ของการผลิต และการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
พระตรี ตรีมูรติการกุล 6310540211004 การสอนภาษาอังกฤษ 1/1 วิชาED1005 อ.แสงจันทร์
สรุป
การปฏิรูปการศึกษา เกิดจากสังคมที่ต้องการแก้ไขปัญหาของการจัดการศึกษาในช่วงที่
ผ่านมา โดยมีจุดหมายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สามารถตอบสนองความต้องการของบุคคล
สังคม และนำไปพัฒนาชาติให้เจริญก้าวหน้าในด้านต่าง จึงมีการปฏิรูปหลักสูตรและการเรียนรู้ ซึ่ง
เป็นหัวใจสำคัญ ที่จะนำพาสู่การบรรลุเป้าหมายของการปฏิรูปการศึกษา อันจะส่งผลให้ผู้เรียนได้รับ
การพัฒนาได้สูงสุด สู่การเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์