Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 9 การติดตาม การนิเทศ และการประเมินงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร -…
หน่วยที่ 9 การติดตาม การนิเทศ และการประเมินงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การติดตามงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย ความสำคัญ ปละประเภทของการติดตามงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย
กระบวนการในการบริหารงานเพื่อติดตาม ทบทวน เฝ้าดู และตรวจสอบ การดำเนินงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรให้เป็นไปตามแผนงานหรือโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ
ความสำคัญ
การกำหนดความรับผิดชอบ
การตรวจสอบความก้าวหน้าของการดำเนินงาน
การให้ข้อมูลและสารสนเทศสำหรับการตัดสินใจ
ทำให้เกิดองค์ความรู้และการเรียนรู้
ความสำคัญของโครงการหรือแผนงาน
ประเภท
แบ่งตามสิ่งที่ต้องการตรวจสอบ
แบบตามจุดมุ่งหมายของการติดตาม
แบ่งตามองค์ประกอบของโครงการ
แบ่งตามลักษณะทั่วๆไปของประเภทการติดตามผล
หลักการ กระบวนการ และวิธีการติดตามงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
หลักการ
หลักความถูกต้องและแม่นยำ
หลักความทันเวลา
หลักความประหยัด
หลักความยืดหยุ่น
หลักความสามารถที่จะทำความเข้าใจ
หลักการมีมาตรฐานที่สมเหตุสมผล
หลักการจัดระบบอย่างมีกลยุทธ์
หลักการเน้นเฉพาะเรื่องสำคัญ
หลักการใช้เกณฑ์หลากหลาย
หลักการเสนอข้อปรับปรุง
กระบวนการ
ขั้นตอนการศึกษาโครงการและวางแผนติดตาม
ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้นตอนการเปรียบเทียบผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการตัดสินใจ
ขั้นตอนการรายงานผล
รูปแบบ
การติดตามงานอย่างไม่เป็นทางการ
การติดตามงานอย่างเป็นทางการ
วิธีการ
ติดตามจากบันทึกและรายงาน
เก็บรวบรวมข้อมูลโดยตรง
กรณีศึกษาการติดตามงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ศึกษาโครงการและวางแผนติดตาม
เก็บรวบรวมข้อมูล
เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน
ตัดสินใจ
รายงานผล
การนิเทศงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย และความสำคัญของการนิเทศงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย
กระบวนการทำงานร่วมกันระหว่างบุคลากรในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
วัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนาบุคคลากร
เพื่อพัฒนางาน
เพื่อสร้างความสัมพันธ์
เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน
ความสำคัญ
ความสำคัญต่อบุคลากร
ความสำคัญต่อองค์กร
ความสำคัญต่อวิชาชีพ
หลักการ กระบวนการ และวิธีการนิเทศงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
หลักการ
หลักการความถูกต้องทางวิชาการ
หลักความเป็นเหตุเป็นผล
หลักการมีส่วนร่วม
หลักการสร้างสรรค์
หลักภาวะผู้นำ
หลักมนุษยสัมพันธ์
กระบวนการนิเทศ
การประเมินสภาพปัจจุบัน
วางแผน
การลงมือปฏิบัติ
การสร้างขวัญและกำลังใจ
ประเมินผล
ขั้นรายงาน
วิธีการนิเทศ
แบบเผชิญหน้า
ผ่านสื่อ
กรณีศึกษา
ขั้นประเมินสภาพปัจจุบัน
ขั้นวางแผน
ขั้นการลงมือปฏิบัติ
ขั้นการสร้างขวัญและกำลังใจ
ขั้นประเมินการนิเทศ
ขั้นรายงานผลการนิเทศ
การประเมินงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย ความสำคัญ และประเภทของการประเมินงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย
กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูลการปฏิบัติงานตามแผน หรือโครงการที่กำหนดไว้
ความสำคัญ
ช่วยทำให้การกำหนดวัตถุประสงค์และมาตรฐานของการดำเนินงานมีความชัดเจน
ช่วยให้โครงการหรือแผนงานบรรลุวัตถุประสงค์
เป็นตัวช่วยในการควบคุมคุณภาพของงาน
เป็นการให้ข่าวสารในการตัดสินใจ
ช่วยให้การใช้ทรัพยากรเป็นไปอย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์เต็มที่
เป็นประโยชน์แก่การวางแผน
มีส่วนในการสร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้ปฏิบัติ
ประเภท
แบ่งตามลักษณะการประเมินการปฏิบัติงาน
แบ่งโดยยึดหลักของการประเมิน
แบ่งโดยยึดแบบแผนของการประเมิน
หลักการ กระบวนการ และวิธีการประเมินงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
หลักการ
หลักการด้านแนวคิดของการประเมิน
หลักการด้านการออกแบบการประเมิน
หลักการด้านการดำเนินการประเมิน
กระบวนการ
กระบวนการประเมินแบบสตัฟเฟิลบีม
กระบวนการประเมินแบบไทเลอร์
กระบวนการประเมินแบบสคริฟเวน
วิธีการ
วิธีการประเมินที่มุ่งเน้นกระบวนการ
วิธีการประเมินที่มุ่งเน้นผู้ประเมิน
กรณีศึกษาการประเมินงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประเมินสภาพแวดล้อมหรือบริบท
สภาพปัญหา
ด้านนโยบาย
ประเมินปัจจัยนำเข้า
ทรัพยากรบุคคล
งบประมาณ
สถานที่
การบริหารจัดการโครงการ
ประเมินกระบวนการ
ด้านการบริหารจัดการ
ด้านการพัฒนาแปลง
การประเมินผลผลิต
วัตถุประสงค์
ผลผลิต
ผลลัพธ์