Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประเภทและกลไกการออกฤทธิ์ของฮอร์โมนในระบบต่อมไร้ท่อ - Coggle Diagram
ประเภทและกลไกการออกฤทธิ์ของฮอร์โมนในระบบต่อมไร้ท่อ
Amino acid based
Peptide and protein มีขนาดใหญ่ ละลายน้ำ ไม่ผ่านผนังเซลล์ จับ receptor ที่ผิวเซลล์ ออกฤทธิ์ผ่าน messenger ในเซลล์
ACTH (Adrenocorticotropic Hormone)
ระตุ้นการหลั่งฮอร์โมน cortisol จากต่อมหมวกไต (ปัจจัยกระตุ้นเกิดจากความเครียด) เป็นกลไลสำคัญที่ทำให้ร่างกายเผชิญความเครียดได้
PTH (Parathyroid Hormone)
เพิ่มระดับ Ca ในเลือดให้อยู่ในระดับปกติ
LH (Luteinizing Hormone)
Testis = กระตุ้น leydig cell ให้หลั่ง testosterone
Ovary = กระตุ้นการเกิด overation และการหลั่งprogesterone estrogen จาก corpus luteum
Thymosin
กระตุ้นการสร้างแอนติบอดี
FSH (Follicle Stimulating Hormone)
Testis = กระตุ้นการสร้างสเปิร์มใน seminiferouse tubule
Ovary= กระตุ้นการเจริญเติบโตของ follicle และการหลั่ง estrogen
Calcitonin
ลดระดับ Ca ในเลือด ออกฤทธิ์ที่กระดูกและไต
ขัดขวาง osteoclast ในการสลายกระดูก
ขัดขวางการหลั่ง aldosterone
TSH (Thyroid Stimulating Hormone)
กระตุ้นการสร้างและหลั่งฮอร์โมน T3 T4 จากต่อมไทรอยด์
ควบคุมการหลั่งโดย hypothalamic pituitary thyroid axis
MSH (Malanocyte Stimulating Hormone)
ควบคุมการหลั่งจากการได้รับแสงแดด
ออกฤทธิ์ที่ melanocytes เพื่อกระตุ้นการสร้างเม็ดสี
กระตุ้นขบวนการอักเสบ
มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมทางเพศ
กระตุ้นการหลั่ง aldosterone
GH (Growth Hormone)
เพิ่มการสังเคราะห์โปรตีน
เพิ่มการทำงานของเซลล์สร้างกระดูก
เพิ่มอัตราแลกเปลี่ยน glycogen ในตับไปเป็น glucose
ลดการใช้คาร์โบไฮเดรต เปลี่ยนไปใช้ไขมันและโปรตีน
ANP (Artrial Natriuretic Peptide)
ขัดขวางการดูดกลับ Na+ ที่ท่อไต
ขัดขวางการหลั่ง aldosterone
Oxytocin
กระตุ้นการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบที่ผนังมดลูก
กระตุ้นการหลั่งน้ำนม
Prolactin
กระตุ้นการพัฒนา mammary gland ระหว่างตั้งครรภ์
กระตุ้น mammary gland ในเต้านมสร้างน้ำนมหลังคลอด
ขัดขวางการหลั่ง estrogen
ADH (Antidiuritic Hormone or Vassopressin)
ควบคุมปริมาณสารน้ำ
รักษาระดับความดันโลหิตในร่างกาย
เพิ่มการดูดน้ำกลับ
ลดการขับปัสสาวะ
Insulin
ลดระดับน้ำตาลในเลือด
Glucagon
เพิ่มระดับน้ำตาลในเลือด
EPO (Erythroprotein)
กระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดที่ไขกระดูก
Renin
สนับสนุนขบวนการสังเคราะห์ aldosterone
HCG
สนับสนุนการตั้งครรภ์
Leptin
กระตุ้นความอยากอาหาร
Modified amino acids (or aminise) ไม่ละลายน้ำ ขนส่งโดยจับกับโปรตีนในเลือด เช่น albumin
Dopamine
สารเกี่ยวกับความรู้สึก ความพอใจ
ยับยั้งการหลั่ง prolactin
Melatonin
ควบคุมการนอนหลับ
Norepinephrine
อบสนองต่อสภาวะฉุกเฉินที่ร่างกายพบเจอ
กระตุ้นการหลั่งกลูโคสสู่กระแสเลือด
T3,T4 Thyroxine
ควบคุมการสังเคราะห์ DNA
ควบคุมการสร้างโปรตีนของเซลล์
Epinephrine เพื่อตอบสนองต่อสภาวะฉุกเฉิน
สารป้องกันตัว
สารแห่งความโกรธ
เพื่อตอบสนองต่อสภาวะฉุกเฉิน
เพื่อตอบสนองต่อสภาวะฉุกเฉิน
Serotonin
ควบคุมการเคลื่อนไหว
ควบคุมอารมณ์,ความโกรธ,ความหิว
Steriod hormone
Glucocorticoids : Cortisol
ควบคุมเมทาบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน
กระตุ้นการสร้างกลูโคส ช่วยสลายโปรตีนและไขมัน
ต้านการอักเสบ
ส่งเสริมให้แผลหาย
กดภูมิคุ้มกันในร่างกาย
ยับยั้งการตอบสนองต่อ Histamine
Estrogen&Progesterone
ควบคุมลักษณะเพศหญิง
กระตุ้นการเจริญเติบโตของรังไข่
Vitamin D
กระตุ้นการดูดซึม Ca P ที่ผนังลำไส้
Testosterone
ควบคุมลักษณะเพศชาย
/ ช่วยในการสร้างสเปิร์ม
Minerocorticoids : Aldosterome
เพิ่มการดูดกลับ Na+ และขับ K+ ออกจากไต ต่อมเหงื่อ ต่อมน้ำลาย และลำไส้