Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ความหมายการวิจัย
กระบวนการเสาะแสวงหาความรู้ที่ถูกต้องและน่าเชื่อถือได้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์เพื่อให้ได้ความรู้ใหม่ๆและเพื่อนำความรู้นั้นๆไประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์
จุดมุ่งหมายการจิจัย
เพื่อให้ได้ความรู้ใหม่หรือเพื่อสร้างสรรค์
ความรู้ใหม่ เพื่อตรวจสอบและพิสูจน์ทฤษฎี
เพื่่อนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์หลายๆด้าน
ใช้สำหรับบรรยายสภาพของปัญหา
ใช้สำหรับพยากรณ์หรือทำนายเหตุการณ์
ใช้สำหรับปรับปรุงและพัฒนาสภาพการ
ใช้สำหรับควบคุมปัญหา
ใช้สำหรับแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างตรงจุด
ประโยชน์การวิจัย
สัมคม
สังคมจะได้รับความรู้ใหม่ๆซึ่งเป็นความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ ช่วยนำความรู้มาใช้ บรรยายสภาพการ อธิบายปรากฎการณ์ พยากรณ์ เป็นต้นและพัฒนาสิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่ในสังคม
นักวิจัย
นักวิจัยมีความรู้ใหม่กว้างขวางและลึกซึ่งเป็นการเพิ่มพูนสติปัญญาของนักวิจัย ทำให้นักวินัยเป็นผู้รอบรู้ ทันสมัย และมีคุณลักษณะประจำตัวที่ดี
พัฒนาการของวิธีการแสวงหาความรู้
การแสวงหาความรู้อย่างไม่มีระบบแบบแผน
การได้รับความรู้โดยบังเอ็ญ(By Chance)
เป็นการได้รับความรู้แบบไม่คาดคิด ได้รับโดยไม่ได้ตั้งใจ
ส่วนใหญ่ม่จากประสบการณ์ที่เกิดขึ้นมาจากธรรมชาติ
เช่นการมองเห็นผลไม้ในป่าที่มีสีสันสวยงามเก็นเอามากิน
แล้วเกิดอาการปวดท้องทำให้รู้ว่าผลไม้ชนิดนั้นกินไม่ได้
การได้รับความรู้โดยการลองผิดลองถูก (Trial and Error)
เป็นกาแสวงหาความรู้ด้วยกาเดา
หรือารลองทำดูหลายๆครั้งใช้
หลายๆวิธีทำเรื่อยๆจนกว่าจะได้รับ
คำตอบที่พึงพอใจหรือคำตอบที่ดีที่
สุดจากการทดลอง
เช่นปั้นหม้อดินเผา เป็นลองประสมดินที่มีความพอดีในการปั้นและ
สัดส่วนๆที่เหมาะสมในการปั้นหม้อดินให้มีความสมบูณ์และทนสวยงาม
การได้รับความรู้จากผู้รู้(Authority)
ผู้มีความรู้มีสติปัญญาใรเรื่องใดเรื่องหนึ่งซึ่งเป็นที่ยอม
รับทั่วไปและแหล่งเรียนรู้วิชาการต่างๆ ผู้รู้เป็นบุคคล
เช่นพระหรือนักบวชผู้รู้งทางศาสนา
การได้รับความรู้จากผู้เชี่ยวชาญหรือนักปราชญ์(Expert or wisemen)
เป็นผู้ที่มีความรู้อย่างกว้างขวางและลึกมีติปัญญาที่เฉลียวฉลาดปราชญ์เปรื่องมี่ความสามาถหรือชำนาญในด้านนั้นเป็นที่ยอมรับ
เช่น อริสโตเติล
การได้รีบความรู้จากประเพณีและวัฒนธรรม(Tradition and Culture)
สิ่งที่สังคมหนึ่งๆยอมรับเชื่อถือและปฏิบัติสืบทอดกันมาเรื่อยมาเป็นเวลาช้านาน การยอมรับ เชื่อถือหรือทำตามบรรพบุรุษต้นตระกูลทำตามกันมา
เช่น การไหว้เจ้าป่าเจ้าเขา
การได้รับความรู้จากประสบการณ์ของตนเอง (Personal Experience)
แต่ละบุคคลย่อมมีโอกาสพบเห็นเหตุการณ์ต่างๆมีโอกาสได้สัมผัสทั้งห้าของตนเองในการหาความรู้และประสบการณ์และสรุปึวามรู้เฉพาะตัว
เช่นบางคนเห็นงูเป็นสัตว์เลี้ยงน่ารักแต่บางคนมองว่าน่ากลัว
การแสวงหาความรู้ด้วยระบบเหตุผล
วิธีอนุมานหรือนิรนัย
Major Premise คือข้อเท็จจริง
Minor Premise คือ ข้อเท็จจริงย่อย
Conclusion คือข้อสรุปความสัมพันธ์ Major
และMinor Premise ต้องเป็นจริงด้วย
ตัวอย่าง
Major Premise : ทุกคนต้องตาย
Minor Premise : นายก้องเป็นคน
Conclusion: นายก้องต้องตาย
วิธีอุปมานหรืออุปนัย
เก็บรวบรวมข้อมูลหรอข้อเท็จจริงย่อยๆที่ต้องการทราบ
นำข้อมูลที่ไดเมาวิเคาะห์และสังเคราะห์
สรุปเป็นข้อเท็จจริงหรือความรู้ใหม่
วิธีอนุมาน อุปมาน
ใช้วิธิอนุมานในการตั้งสมมุติฐาน
ใช้อุปมานในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพือวิเคราะห์
สังเคราะห์และยืนยันหรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้
สรุปเป็นความรู้ใหม่
การแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
1 ขั้นระบุปัญหาหรือกำกนดปัญหา
เป็นการตระหนังว่ามีปัญหา
มีความต้องการที่จะแก้ปัญหา
ตัวอย่าง
ต้องการทราบว่าทำไมกระบองเพรชที่ปลูกไว้ถึงตาย
2 ขั้นสมมติฐาน
การคาดคะแนปัญหาล่วงหน้า
ตัวอย่าง
ให้น้ำมากเกินไป
3 ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล
ตัวอย่าง
ตรวจสอบหรือสอบถามเกี่ยวกับการปลูกกระบองเพชร
4 ขั้นวิเคราะห์และตีความข้อมูล
แยกแยะ
แปรผลข้อมูล
ตัวอย่าง
ข้อมูลจากผู้ที่สอบถามพบว่ากระบอกเพรชไม่ควรให้น้ำมากจริงเพราะกระบองเพชรจะต้องมีการปรับตัวทางโครงสร้างให้สามารถทนอยู่ในสภาพอากาศที่ร้อน แดดจัด และไม่มีน้ำ
5.ขั้นสรุปผล
ตัวอย่าง
จากการศึกการและวิเคราะห์ข้อมูลทั้งหมด พอจะสรุปได้ว่าสาเหตุของต้นกระบอกที่ตายเพราะขาดความรู้ในการปลูกอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากให้น้ำมากเกินไปทำให้การปรับตัวทางโครงสร้างให้สามารถทนอยู่ในสภาพอากาศที่ร้อน แดดจัด และไม่มีน้ำ ตายได้
คุณสมบัติของนักวิจัย
ด้านความรู้หรือพุทธิพิสัย
มีความรู้ในเรื่องที่ทำวิจัยอย่างดี
มีความรู้ในสาขาวิชานั้นอย่างดี
มีความรู้ในระเบียบวินัย
ด้านความสามารถหรือทักษะพิสัย
ด้านเจตคติหรือจิตพิสัย
หรือด้านจิตสำนึก ความเชื่อและคุณลักษณะประจำตัวที่ควรมีอยู่ในตัวนักวิจัย
จรรยาบรรณของนักวิจัย
จรรยาบรรณนักวิจัยควรเน้น
การมีความเชื่อในหลักวิทยาศาตร์
การมีความซื่อสัตย์
ตัวเลขข้อมูล
เชิววิชาการ
กามีจิตสำนึก
การครบรบสิทธิของบุคคลของผู้ใช้ข้อมูล
การมีจิตสำนึกความปลอดภัยและผลวิจัย
ประเภทของการวิจัย
การจำแนกประเภทตามลักษณะของข้อมูล
การวิจัยเชิงคุณภาพหรือวิจัยเชิงคุณลักษณะ
การวิจัยเชิงปริมาณ
การจำแนกประเภทตามจุดมุ่งหมายของการวิจัย
การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุุทธิ์
การวิจัยประยุกต์
การจำแนกประเภทตามระเบียบวิธีวิจัย
การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
การวิจัยเชิงบรรยายหรือเชิงพรรณา
การวิจัยทดลอง
ขั้นตอนการวิจัย
การเลือกและกำหนดปัญหา
กาศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
การสรุปผลการวิจัย