Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 14 การจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle Diagram
หน่วยที่ 14 การจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับความรู้
ความหมายและความสำคัญ
ระดับของความรู้
ความรู้เชิงทฤษฎี
ความรู้เชิงปฏิบัติและเชิงบริบท
ความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล
ความรู้ระดับคุณค่า ความเชื่อ
ความสำคัญของความรู้
ช่วยแก้ปัญหา โดยมีส่วนร่วม
พัฒนาตนเองได้อย่างมีความสุข
สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน
ลักษณะและประเภทของความรู้
ลักษณะความรู้
ความรู้ชุมชน
เชิงปฏิบัติ
ไม่อ้างสากล
ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
มุมมองเกี่ยวกับศาสนธรรม
ความรู้เกิดจากการค้นคว้าวิจัย
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เปฌนลายลักษณ์อักษร
ถ่ายทอดผ่านสื่อ/เครื่องมือ
เป็นความรู้เชิงปฏิบัติ+ทฤษฎี
ประเภท
ความรู้ชัดแจ้ง
ความรู้ฝังลึก
ความรู้ในการส่งเสริมการเกษตร
ความรู้ภูมิปัญญา
ความรู้ที่สร้างขึ้นมาใหม่
การแสวงหา การถ่ายโอน การถ่ายทอดความรู้
การแสวงหาความรู้
วัตถุประสงค์
เพื่อนำความรู้มาใช้ประโยชน์
แสวงหาความรู้เพื่ือประโยชน์ส่วนตัว
แสวงหาความรู้เพื่อบุคคลอื่น
เพื่อตอบสนองความอยากรู้อยากเห็น
วิธีการแสวงหาความรู้
การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นปรับใช้
ต่อยอดภูมิปัญญา
การแสวงหาความรู้ใหม่
การพัฒนาความรู้ขึ้นใหม่
การถ่ายโอน และการถ่ายทอดความรู้
จากบุคคลสู่บุคคล
จากบุคคลสู่กลุ่ม
ขากกลุ่มสู่กลุ่ม
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้
ความหมาย หลักการ และองค์ประกอบในการจัดการความรู้
เป้าหมาย
พัฒนาและส่งเสริมการเกษตร
พัฒนาคน
พัฒนาฐานความรู้
พัฒนาความเป็นชุมชน
หลักการ
การทำงานร่วมกัน
ร่วมพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการเกษตรรูปแบบใหม่ๆ
ดำเนินการแบบบูรณาการ
ทดลอง+เรียนรู้
การผลิตที่ใช้ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
ประยุกต์ความรู้ภายนอกมาใช้ให้เหมาะสม
เรียนรู้+พัฒนาอย่างต่อเนื่อง
องค์ประกอบ
คน
เกษตรกร
นวส.
บุคคลอื่นๆ
กระบวนการเรียนรู้
เทคโนโลยี
การสร้างและการยกระดับความรู้
แลกเปลี่ยนเรียนรู้นำไปสู่การขัดเกลาทางสังคม
การสกัดความรู้ออกจากตัวคน
การผนวกรู้ชัด+รู้แจ้งเข้าด้วยกัน
การฝังผนึกความรู้ในตน
กระบวนการ และวิธีการจัดการความรู้
กระบวนการ
จัดหาแหล่งความรู้
การแบ่งปันความรู้
การใช้หรือการเผยแพร่ความรู้
วิธีการจัดการความรู้
การทำฐานข้อมูล
เทคนิคการเล่าเรื่อง
ทบทวนหลังการปฏิบัติงาน
ระบบพี่เลี้ยง
ประชุมระดมสมอง
ชุมชนนักปฏิบัติ
การใช้การจัดการความรู้
การจัดการความรู้ระดับองค์กร
การจัดการความรู้เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์
วัตถุประสงค์
พัฒนาหลักสูตรความรู้ทางไกล
สร้างชุดเรียนรู้อาหารปลอดภัยแบบครบวงจร
สร้างเครือข่ายขยายผลสู่กลุ่มเกษตรกร
พัฒนาการเรียนรู้
กระบวนการ
กำหนดความรู้
2.การสร้าง+แสวงหาความรู้
3.การจัดการองค์ความรู้
4.การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
หลักการในการจัดการเรียนรู้
ใช้สื่อวิดีทัศน์
เรียนรู้จากการลงมือทำ
เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม
ผลที่ได้รับ
เกาตรกรนำความรู้ไปปฏิบัติ
เกษตรกรสามารถวางแผนชีวิตได้
กลุ่มองค์กรเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน
เกิดการขยายผล
เกิดการบูรณาการ
ยกระดับการเรียนรู้
ปัจจัยเกื้อหนุนให้ประสบความสำเร็จ
ด้านความรู้
เรียนแบบมีส่วนร่วม
นำไปปฏิบัติได้จริง
คัดสรรจากภาคีเครือข่าย
ด้านการจัดการกระบวนการเรียนรู้
มีความยืดหยุ่น
ได้เห็นจริงจาดชุดสื่อ
ใช้วิธีการเรียนรู้หลายด้าน
กระตุ้นในการจัดการเรียนรู้ให้สำเร็จ
มีสื่อที่ช่วยเผยแพร่การเรียนรู้
ด้านหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หน่วยงานสนับสนุนศูนย์เรียนรู้
พัฒนาเครือข่าย+กิจกรรม
เจ้าหน้าที่ภาครัฐเข้าเสริมหนุน
ท้องถิ่นเห็นความสำคัญ
การจัดการความรู้ระดับชุมชน
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ทุ่งทองยั่งยืน
วัตถุประสงค์
ผลิตอาหารอินทรีย์
บริหารจักการการผลิต+ตลาด
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
สร้างธรรมชาติ จากการระดมความคิด
การจัดการความรู้
กำหนดเป้าหมาย
ดำเนินการจัดการเรียนรู้
จาก ศพก.
ฐานเรียนรู้
หลักสูตร
จุดเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้
ปัจจัยเกื้อหนุนให้การจักการเรียนรุ้
ปัจจัยด้านความรู้
ปัจจัยด้านการจัดกระบวนการเรียนนรู้
ปัจจัยด้านหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง และแนวทางการจัดการความรู้
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
เป้าหมายความรู้
ลักษณะความรู้
ฐานเรียนนรู้
แหล่งความรู้
สมาชิกในกลุ่มและสมาชิกชุมชน
นักส่งเสริม
ผู้นำชุมชน
เทคโนโลยีในการจัดกระบวนกระบวนการเรียนนรู้
บรรยากาศในการเรียนรู็
การเครือข่ายในการเแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การสนับสนุนจากหน่วยงานท้องถิ่น
การประเมินผลการจัดการความรู้
แนวทาง
ส่งเสริมแบบมีส่วนร่วม
ส่งเสริมภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่
การค้นหาความรู้
การขยายผล+ต่อยอดความรู้
การปรับวิธี+เนื้อหาในการถ่ายทอด
การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการทำงาน
การจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
การจัดการความรู้อย่างบูรณาการ
เน้ความรู้ที่สามารถใช้ได้จริง
มีผู้กระตุ้น
กระตุ้นการสร้างเครือข่าย
ขับเคลื่อนการมีส่วนร่วม
การจัดการความรู้ที่สอดแทรกการทำงานปกติ